TRINITY ลุยฟิวเจอร์ส
ถึงแม้ภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ และผู้ร่วมก่อตั้งรายอื่นของทรีนิตี้ จะมีความทรงจำที่ไม่ค่อยดีนักกับอดีตผู้ร่วมทุนจากไต้หวัน แต่เมื่อถึงคราวต้องหาพันธมิตรเพื่อรุกตลาดอนุพันธ์ ก็ยังหนีไม่พ้นที่จะเป็นสถาบันการเงินจากไต้หวันอยู่นั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2549)
ผิดหวังดอกเบี้ยพันธบัตร
บรรดานักลงทุนวัยเกษียณยังคงมาปักหลักรอเวลาจองซื้อพันธบัตรออมทรัพย์ กระทรวงการคลัง รุ่นอายุ 5 ปี มูลค่า 2,000 ล้านบาท อยู่ด้านหน้าสำนักงานแบงก์กสิกรไทย สาขาพหลโยธิน ตั้งแต่ดึกดื่นเช่นทุกครั้ง แม้การออกพันธบัตรครั้งนี้จะเป็นรอบที่ 6 แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)
Be Glorious Again
เป็นคราวของ ปตท.ที่ต้องออกไปแสวงหาเงินทุนในตลาดต่างประเทศอีกครั้ง หลังจากไม่กี่เดือนก่อน ไทยออยล์ซึ่งเป็นบริษัทลูกเพิ่งจะเรียกเครดิตจากนักลงทุนในต่างแดนกลับคืนมาได้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2548)
Baht bond's activity
การเข้าระดมทุนด้วยการออกพันธบัตรสกุลเงินบาทในตลาดเอเชียบอนด์ ของ JBIC นับเป็นอีกหนึ่งความพยายามจากญี่ปุ่นที่จะผลักดันให้สถาบันการเงินของรัฐบาลเข้ามามีบทบาทชัดเจนมากขึ้นกับความร่วมมือในแผนการสร้างเขตระดมทุนเฉพาะของภาครัฐและเอกชน ในระดับภูมิภาคเอเชีย หลัง ADB องค์กรการเงินระหว่างประเทศที่ญี่ปุ่นเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ได้เข้ามานำร่องทำหน้าที่นี้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2548)
ความจริง ความหวัง ความอยู่รอด
ไม่มีอะไรดีไปกว่าการพยายามรักษาความน่าเชื่อและความคาดหวัง ให้กับนักลงทุนจากธุรกิจจัดการกองทุนรวมยุคปัจจุบัน ดูเหมือนว่าโลกกำลังเล่นตลกกับบลจ.ไทยพาณิชย์ที่ครั้งหนึ่งออกกองทุนหุ้นทุน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2545)
บุญทักษ์ หวังเจริญ เผยเบื้องหลัง "สลิป" สี่หมื่นล้าน "เหนื่อยแต่คุ้ม"
ในภาวะอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องส่งผลกระทบต่อธุรกิจที่พึ่งพารายได้จากดอกเบี้ยเงินฝาก
ทำให้มีรายได้ลดลงกว่าเท่าตัว ในขณะที่ช่องทางอื่นในการลงทุน อาทิ ตลาดหุ้น
ก็ไม่ได้ให้ผลตอบแทนที่สวยหรูอย่างเช่นในอดีตอีกต่อไปแล้ว ประกอบกับตลาดตราสารหนี้ที่ยุคหนึ่งเคยเป็นยุคบูมก็ได้ขาดตอนไปช่วงเวลาหนึ่งจากพิษเศรษฐกิจ
ทำให้ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ออกมา
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2542)