ซีพีทำทุกอย่างเพื่อชัยชนะ
ซีพีชนะการเจรจาเรื่องโทรศัพท์โดยได้สัมปทาน 2 ล้านเลขหมายในเขตนครหลวง
ชัยชนะนี้ได้มาด้วยเทคนิคการต่อรองชั้นเลิศของซีพี และกลยุทธ์การประนีประนอมแบ่งประโยชน์กับรัฐ
แม้จำนวนเลขหมายจะลดลง แต่โครงการนี้ก็ยังส่งผลกระทบต่อกระแสเงินสดอันมหาศาล
!!
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
AT & T ยกสมุดหน้าเหลืองให้ชินวัตรฯ พร้อมเงินสด 370 ล้าน
นับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2543 เป็นต้นไปกิจการจัดพิมพ์สมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์
(ไดเร็คทอรี่ส์) จะอยู่ภายใต้การบริหารงานของกลุ่มบริษัทในเครือบริษัทชินวันคอมพิวเตอร์
จำกัด ทั้งนี้เป็นผลจากการเจรจาระหว่าง ดร.ทักษิณ ชินวัตร ประธานกลุ่มบริษัทชินวัตรคอมพิวเตอร์กับทางบริษัท
เอที แอนด์ ที อินเตอร์เนชั่นแนลที่มีตั้งแต่เดือนตุลาคมปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
เบื้องหลังการหาทุนสร้างโทรศัพท์ของซีพี
กลุ่มซีพีเดินหน้าโครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมายประกาศแต่งตั้งที่ปรึกษาทางการเงินภายในประเทศ
4 แบงก์ใหญ่นำโดยธนาคารกสิกรไทย ส่วนที่ปรึกษาฯ ต่างประเทศคือ มอร์แกน สแตนเลย์
และตั้งบริษัทซีพีเทเลคอมด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 1,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
หากินกับราชการต้องรอบคอบ
ประเด็นเรื่องเงินประกันหนี้สิน 9,000 ล้านบาท เป็นเรื่องที่สามารถอธิบายได้ในหลายแง่มุม
และหาจะจับโยงใยเข้าสู่ปัญหาทางหลักการก็ยังสามารถทำได้ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
ระบบโทรศัพท์ในยุโรปตะวันออกยังมืดมน?
ใครก็ตามที่มีโอกาส ไปติดต่อธุรกิจ ณ ยุโรปตะวันออก หรือสหภาพโวเวียต ก็คงหนีไม่พ้นที่จะพูดถึงปัญหาเกี่ยวกับระบบโทรศัพท์ อย่างในกรณีของเจฟฟ์ โซลส์บี้ ผู้จัดการฝ่ายการตลาดของราคาล-มิลโก ที่เคยเดินทางไปเมืองคีเอฟ กับผู้แทนทางการค้า ของสหราชอาณาจักร
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
บูรพา อัตถากร MATCH MAKER โทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย
เป็นที่ทราบกันดีว่ากลุ่มเจริญโภคภัณฑ์หรือ "ซีพี" หาญอาสากระโดดเข้าพลิกโฉมระบบสื่อสาร-โทรคมนาคมของไทยโดยลงทุนขยายเลขหมายโทรศัพท์ทั่วประเทศ
3 ล้านเลขหมายมูลค่าการลงทุน 150,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
ทำไมซีพีกล้าลงทุน ฮัลโหลแสนห้า
ในที่สุดผู้ที่ได้รับสัมปทานโครงการ "ฮัลโหลแสนล้าน" ขององค์การโทรศัพท์ฯ
ไปดำเนินงานก็คือ กลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี) ร่วมกับบริติช เทเลคอมมิวนิเคชั่น
พีแอลซี (บีที) แห่งอังกฤษ โครงการนี้เป็นการขยายเลขหมายโทรศัพท์มูลค่า 150,000
ล้านบาท โดยจะต้องติดตั้งโทรศัพท์จำนวน 3 ล้านเลขหมายในระยะเวลา 5 ปีข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
ขายโทรศัพท์ แบบด่วนๆ เร็วกว่า ทศท.ครึ่งปี
กิตติศัพท์และความเชื่อที่ว่า การขอโทรศัพท์ไปติดที่บ้านสักเลขหมาหนึ่งเป็นเรื่องยากแสนยาก
ต้องตั้งหน้าตั้งหน้าคอยเป็นปีๆ ยังเป็นความเชื่อที่ยังติดตรึงอยู่ในใจคนทั่วไป
และก็มากพอที่ "นายหน้า" รับดำเนินเรื่องขอหมายเลขโทรศัพท์จะยึดเป็นอาชีพอย่างเป็นล่ำเป็นสัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)
BIG : SURVIVAL ของอดีตลูกหม้อจีทีดีซี
การกระโจนเข้าสู่ยุทธจักรของ BIG (BUSINESS INFORMATION GUIDE) ไม่เพียงเป็นปรากฏการณ์ธรรมดาเทานั้น
แต่มีข้อพึงให้ความสนในพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)
ธุรกิจบริการการสื่อสารด้วยเสียงสำหรับผู้มีความเหงาในหัวใจ
หากคุณต้องการมองหาใครสักคนที่จะเป็นคนพิเศษที่ช่วยให้คุณคลายความเหงา ความว้าเหว่ลง การใช้วิธีลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ หรือนิตยสารอย่างคอลัมน์ลุงหนวดและเฝ้ารอจดหมายตอบมาอาจจะเป็นวิธีที่ไม่ค่อยได้ผลเท่าใดนัก ในอเมริกาก็เช่นกัน โดยปกติผู้ที่ต้องการหาเพื่อนในลักษณะดังกล่าวมักจะเช่าตู้ของไปรษณีย์ไว้รอรับจดหมายของใครสักคน หลังจากที่ลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์เอาไว้ แต่ก็มักปรากฎว่าจดหมายมาช้าไม่ทันใจ ยิ่งกว่านั้นก็คือบางคนอาจจะขี้เกียจเขียนจดหมาย ก็เลยต้องว้าเหว่อยู่อย่างนั้นไปเรื่อย ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)