โทรศัพท์มือถือญี่ปุ่นในวันนี้
เมื่อประมาณ 10 ปีที่ผ่านมา ญี่ปุ่นได้ เริ่มพัฒนาโทรศัพท์มือถือขึ้นใช้เองในประเทศ
ภายใต้ระบบ 800 MHz Digital (ซึ่งไม่สนใจระบบของประเทศอื่น โดยเฉพาะกลุ่มประเทศ
สแกนดิเนเวีย ซึ่งเป็นผู้นำในเวลานั้น)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
Mobile life in Japan
วันที่ได้พบกับโตชิโอะ โอกิฮาชิ (Toshio Okihashi) รองประธานอาวุโสธุรกิจแบรนด์
au บริษัท KDDI และทีมผู้บริหารอีก 3-4 คน ในช่วงเช้าของ
วันที่ 12 ธันวาคมปีที่แล้ว ที่สำนักงานใหญ่ของ KDDI กลางกรุงโตเกียว ซึ่งเป็นอาคารขนาดกลางๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
ห้างสรรพสินค้าข้อมูล
เมื่อโทรศัพท์มือถือไม่ได้ทำหน้าที่แค่ส่งเสียง เจ้าของสถานีโทรทัศน์ช่อง
3 ก็เป็นอีกหนึ่ง ที่มองหาโอกาสในการกาวเข้าสู่ช่องทางใหม่บนหน้าจอเล็กๆ
ที่ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่หน้าจอโทรทัศน์อีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
4 ฟังก์ชั่นมือถือ ปี 2546
เมื่อโทรศัพท์มือถือที่อยู่ในมือจะกลายเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เล่มเกม มีเสียงเพลงเวลาเรียกเข้า
มีจอสีสดใส แทนที่จะเป็นแค่จอขาวดำ และยังส่งสไลด์ ทั้งหมดนี้คือ 4 ฟังก์ชั่นหลัก
ของโทรศัพท์มือถือที่ได้จากการสำรวจผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือยี่ห้อหลักๆ ในไทย
ทำให้มองเห็นได้ว่า โทรศัพท์มือถือเครื่องใหม่จะมีโฉมหน้าอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
รหัสรุ่นมือถือ
รหัสรุ่นของโทรศัพท์มือถือล้วนแต่มีความหมาย เพราะก่อนที่โทรศัพท์มือถือรุ่นต่างๆ
ออกวางตลาดด้วยหน้าตาฟีเจอร์ และฟังก์ชั่นที่แตกต่างกันไปมาจากการแบ่งกลุ่ม
ของสินค้าเป็นกลไกที่สำคัญของการผลิตโทรศัพท์มือถือ ที่ไม่ได้มีแค่เรื่องของราคา
หรืออายุของผู้ใช้เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
Hutch Brand
จะด้วยความตั้งใจหรือไม่ก็ตาม แต่การเปิดตัวโทรศัพท์มือถือระบบใหม่ล่าสุดของเมืองไทย
ภายใต้การดำเนินธุรกิจของ ฮัทชิสัน วัมเปา กลับไม่ครึกโครมอย่างที่คิด ด้วยการที่เป็นระบบโทรศัพท์มือถือน้องใหม่ของเมืองไทย ที่ดำเนินการโดย
ฮัทชิสัน วัมเปา แถมยังใช้เทคโนโลยีระบบ CDMA
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2546)
โทรศัพท์มือถือที่ต้องการ
ถึงแม้ทุกวันนี้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ จะเริ่มรู้จักกับบริการส่งข้อความสั้น
(SMS) ภาพโลโกบนโทรศัพท์มือถือ หรือบริการไร้เสียง (non voice) แต่ในความเป็นจริงแล้ว
อัตราการเติบโตกลับไม่มากอย่างที่คิด
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2545)
จอสีออกอาละวาด
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ เกิดขึ้นมารองรับกับวิวัฒนาการของโทรศัพท์มือถือ
ที่กำลังเปลี่ยนจากบริการเสียงไปสู่บริการไร้เสียง ที่ทำได้ทั้งรับส่งข้อความ
ภาพเคลื่อนไหว หรือแม้แต่ดูภาพข่าว และตัวอย่างหนังบนโทรศัพท์มือถือ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2545)
Proxy Game
จากนี้เกมการแข่งขันของผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์ไร้สายในบ้านเรา จะต้องมองกว้างขึ้น
สำหรับผู้วิเคราะห์ความเป็นไป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)