ฟาสต์ฟูดหน้าใหม่ จะทนแรงเบียดจากยักษ์ใหญ่นานแค่ไหน?
ป๊อปอายส์, โบรสเตอร์, คาลิโก แจ็คและทอยส์ ฟิช แอนด์ ชิพส์ เป็นฟาสต์ฟูดน้องใหม่
ชื่อเสียงของพวกเขายังไม่เป็นที่รู้จักมากเท่ารุ่นพี่ สองรายแรกอาจหาญเข้ามาในตลาดไก่ทอดที่มีเคเอฟซีเป็นผู้นำ
สองรายหลังเลือกเข้ามาในตลาดฟาสต์ซีฟูด เพราะไม่ต้องการเผชิญหน้ากับยักษ์ใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2538)
อาร์บี้ส์-แดรี่ควีน ต่อให้แฟรนไชส์ชื่อดังก็มีจุดจบ
ถ้าพิจารณาให้ดีจะพบว่า แดรี่ควีนและอาร์บี้ส์ฟาสต์ฟูดประเภทเยอร์เกอร์ชื่อดังจากอเมริกามีประวัติศาสตร์และความเป็นมาหลายๆ อย่างที่คล้ายคลึงกัน เริ่มตั้งแต่มีการเปลี่ยนมือของเจ้าของแฟรนไชส์ในเมืองไทย
เพราะเจ้าของแรกไม่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงาน ที่สำคัญฟาสต์ฟูด 2 รายยังมีจุดจบที่เหมือนกันไม่ผิดเพี้ยน
นั่นคือการเลิกกิจการเมื่อปี 2537 ทำไมจึงเป็นเช่นนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2538)
"เวนดี้ส์…ขอพิสูจน์รสชาติในฐานะน้องใหม่ฟาสต์ฟู้ดเมืองไทย"
เวนดี้ส์ คือแฟรนไชส์แฮมเบอร์เกอร์น้องใหม่ล่าสุดจากอเมริกา ที่อยู่ภายใต้เครื่องหมายการค้าคำว่า
"เวนดี้ส์" พร้อมจะบุกตลาดฟาสต์ฟู้ดเมืองไทย ด้วยได้เปิดสาขาในเมืองไทยขึ้นแล้ว
1 สาขา ที่ชั้นใต้ดินเดอะมอลล์ธนบุรีเมื่อต้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2536)
"แดรี่ควีน" ในมือพาราวินเซอร์ จะไปรอดหรือไม่"
การเข้าไปลงทุนด้านธุรกิจฟาสท์ฟู้ดของกลุ่มพาราวินเซอร์ในวันนี้ แม้มิใช่เรื่องใหญ่แต่ก็เป็นเรื่องที่ถูกจับตามอง การได้แฟรนไชส์ "แดรี่ควีน" จากกลุ่มศรีชวาลามาเกือบ 100% ทำให้พาราวินเซอร์ได้เข้าไปมีบทบาทเต็มที่ในการบริหาร ถึงคราวพิสูจน์ฝีมือหลังจากนั่งดูความถดถอยภายใต้ การบริหารงานของประโชธรรม ศรีชวาลามาเป็นเวลา 6 ปีเต็ม แดรี่ควีนจะอยู่ หรือจะไป ?
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2536)
เมื่อเป๊ปซี่สู้ตายลุยแมคโดนัลด์
เวทีการแข่งขันระหว่างเป๊ปซี่และโค้กนั้นไม่เคยว่างมาเป็นศตวรรษแล้ว และคงเป็นการแข่งขันอันเดียวที่ไม่สามารถบ่งชี้ลงไปได้ว่าใครเป็นผู้แพ้หรือผู้ชนะที่แท้จริง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
เปิดโฉมคู่แข่งที่เบอเกอร์คิงส์หวาดหวั่น
ธุรกิจอาหารฟาสต์ฟู้ดที่แข่งขันกันอย่างดุเดือดในสหรัฐอเมริกามาจาการที่ตลาดธุรกิจประเภทนี้ได้ถึงจุดอิ่มตัว กลยุทธ์ทั้งการรุกและรับถูกดึงมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น แบรนด์เนมอันดับต้น ๆ อย่างเบอเกอร์คิงส์กลับออกมาประกาศในการให้สัมภาษณ์เมื่อไม่นานนี้ว่า คู่แข่งที่ยิ่งใหญ่พอฟัดพอเหวี่ยงกันอย่างแมคโดนัลด์นั้นหาใช่คู่แข่งที่จนหวาดหวั่นไม่ เหตุประหลาดใจจึงเกิดขึ้นโดยถ้วนหน้าว่ากลใดที่ทำให้ "ไมอามี่ ซับส์"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)