บะหมี่สำหรับมุสลิม
การแสวงหา niche และจุดเด่นทางการตลาดของธุรกิจในห้วงสมัยปัจจุบัน กลายเป็นปัจจัยหลักที่สามารถบ่งชี้ความสำเร็จ หรือล้มเหลวให้กับธุรกิจได้อย่างง่ายดาย ความเป็นไปของบริษัท โรงงานผลิตภัณฑ์อาหารไทย จำกัด เป็นตัวอย่างที่น่าสนใจในกรณีที่ว่านี้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
ปีที่ 4 ของหมี่จัง เดนนิส เฉินคงไม่ผิดหวังเป็นครั้งที่ 2
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป " หมี่จัง" เป็นสินค้าตัวแรกที่ กลุ่มนำเขามาจากไต้หวัน
มุ่งเข้าสู่ตลาดประเทศไทย เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2534 นายทีซี วู กรรมการผู้จัดการ
บริษัท นำเชา ( ประเทศไทย) จำกัด ขณะนั้น ได้ประกาศเป้าหมายการทำตลาดหมี่จังในปีแรกว่า
ต้องการมีส่วนแบ่งตลาดราว 10-15% ของตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปทั้งระบบ ซึ่งมีมูลค่าราว
2,100 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)
"จากนักบริหารเอกชนเข้าสู่อาชีพนักการเมือง"
22 มีนาคมเป็นวันเลือกตั้งครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่งของประวัติศาสตร์การเมืองประเทศไทย
ขณะเดียวกันก็น่าจะเป็นประวัติศาสตร์ที่ควรจดจำของ "พิพัฒ พะเนียงเวทย์"
ด้วยเหมือนกันที่ได้พยายามสานฝันให้เป็นจริงตามที่ใจปรารถนา โดยลงสมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในนามของพรรคความหวังใหม่ หมายเลข 7
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"ขวากหนามบนทาง 2 แพร่งของไทยเพรสซิเดนท์ฟู้ดส์"
ผู้นำตลาดบะหมี่สำเร็จรูปในประเทศไทยภายใต้ยี่ห้อ "มาม่า" และเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้า
"นิสชิน" ในประเทศไทย กำลังอยู่บนทาง 2 แพร่งของการตัดสินใจเลือกสิทธิ์ในเครื่องหมายการค้าที่อาจจะมีการต่ออายุออกไปในธุรกิจบิสกิต
หรือการเปิดตลาดในประเทศเพื่อขายบะหมี่ยี่ห้อนิสชินให้กับนิสชินฟู้ดจากญี่ปุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"นำเชา" ผู้นำตลาดอุปโภค-บริโภคของไต้หวัน"
"นำเชากรุ๊ป" เริ่มเคลื่อนไหวเข้าเมืองไทยมาอย่างเงียบ ๆ เมื่อ
2 ปีที่แล้ว ก่อนที่จะประกาศตัวอย่างเป็นทางการ ว่าจะเข้ามาลงฐานผลิตบะหมี่กึ่งสำเร็จในเมืองไทยอย่างจริงจัง
และเน้นการส่งออกเป็นสำคัญมากกว่าที่จะทำตลาดในประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)