งานนี้สุระฯ เจ้าเก่าก็มีเหมือนกัน
สายสัมพันธ์ของสุระฯ กับธนาคารสยามนั้นมีมาตั้งแต่สมัยที่สุระฯ ขายหุ้นในบริษัทเทพารักษ์ที่ดินให้กับกลุ่มจอห์นนี่ มา และสหายเพื่อทำหมู่บ้านทิพวัลย์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ศึกชิงสำนักน่ำใฮ้ “ผมจะสู้เพื่อหลักการ” บุญชู โรจนเสถียร
“ณ วันตรวจสอบสินทรัพย์รวมของธนาคาร (นครหลวงไทย) เมื่อหักสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสูญเต็มจำนวนกับครึ่งหนึ่งของสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสงสัยส่วนที่เกินมูลค่าหลักประกันและสำรองเพื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว คงเหลือ 11,541.6 ล้านบาท... ซึ่งหากธนาคารท่านใช้วิธีปฏิบัติทางการบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว การดำเนินงานที่แท้จริงจะมีผลขาดทุน...”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง
บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ซิตี้แลนด์ รับซื้อแลนด์หลุดจากแบงก์
ตามหลักการทำงานของธนาคารทั่วๆ ไปนั้น ทรัพย์สินที่ถูกยึดมาเมื่อถึงระยะหนึ่งก็สามารถจะขายทิ้งออกไปได้ ธนาคารนครหลวงไทยก็เป็นธนาคารหนึ่งที่ในปีสองปีที่ผ่านมานี้ได้ยึดทรัพย์คือที่ดินเข้ามาเป็นจำนวนมากและก็ได้มีการจำหน่ายออกไป ในการจำหน่ายออกไปนั้นก็ต้องมีคนเข้ามาประมูลซื้อกัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
“ไอ้ตา-มึงไม่เคยทำอะไรให้กูสบายใจเลย...”
“ไอ้ตา (ชื่อภาษาไหหลำของชัยโรจน์แปลว่าที่สาม) มึงไม่เห็นเคยทำอะไรให้กูสบายใจสักอย่าง มึงมีแต่หาเรื่องให้กูทั้งนั้น กูเจ็บใจ วันหนึ่งๆ กูนอนไม่หลับก็เพราะมึง มึงมาอยู่แบงก์อย่างนี้ ทำกับกูอย่างนี้ กูไม่อยากได้แบงก์นี้ แต่มึงก็จะเอา จะเอา มึงไม่เคยทำอะไรสักอย่างให้กูสบายใจ”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
"สุมิโตโม" ธนาคารชั้นนำของญี่ปุ่นกำลังมาแรง
จากการเลือกเอาข้อดีของกรรมการผู้จัดการคนก่อนๆ คอห์ โคมัตสุ กรรมการผู้จัดการใหญ่คนใหม่ของธนาคารสุมิโตโม
กำลังเร่งรัดก้าวไปสู่การตลาดที่สามารถทำกำไรได้มากยิ่งขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2528)
THE PARTNERS!!
มันเป็นเรื่องของธนาคารที่น่าจะมีอนาคตมาแต่แรก แต่ผู้บริหารใช้ความรั้นดื้อและไม่ยอมรับฟังเหตุผล
ก็เลยเกิดภาวะการขัดแย้งที่ยืดเยื้อมาจนในที่สุดก็ต้องยอม เพราะเงื้อมมือของกฎหมายได้เอื้อมเข้ามาจนจวนจะถึงตัวเองในที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2528)