ธนาคารทหารไทยยุคก้าวสู่ธนาคารพาณิชย์เต็มตัว
เพียง 5 เดือนหลังจากประยูร จินดาประดิษฐ์ ลาออกจากธนาคารทหารไทย ธนาคารพาณิชย์แห่งนี้
ก็ได้รับรองผู้จัดการคนที่ 2 ซึ่งลาออกจากตำแหน่งรองผู้จัดการใหญ่บริษัทเอสโซ่พร้อมกับทีมงานจำนวนหนึ่ง
บุคคลนั้นคือ วิสิษฐ์ ตันสัจจา เพียง 1 เดือน 14 วัน ประเทศไทยก็เกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ครั้งสำคัญอีกครั้งหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
THE WORKING CHAIRMAN
ถ้าจะถามพลเอกประยุทธ จารุมณี ว่างานที่ทำอยู่ในฐานะเป็นประธานกรรมการธนาคารทหารไทยนั้นชอบงานอะไรมากที่สุด?
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
สุขุม นวพันธ์ ตำนานแห่งแบงก์ทหารไทย
สุขุม นวพันธ์ ทำงานกับธนาคารทหารไทยนับแต่เริ่มเปิดดำเนินการเมื่อปี 2500
ในตำแหน่งผู้ช่วยผู้จัดการ โดยการชักชวนของโชติ คุณะเกษม ผู้จัดการคนแรก และเป็นพ่อตาของสุขุม
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
ก่อนจะถึงวันนี้ของ 3 ผู้บริหารธนาคารทหารไทย
"ความจริงแล้ว คงเป็นเรื่องบังเอิญเหมือนๆ กับในอดีตช่วงก่อนที่จะมาเป็นเสนาธิการทหารบก
หรือผู้บัญชาการทหารบก คือถ้าไม่มีเหตุการณ์เมื่อเดือนมีนาคม 2520 (พลเอก
ฉลาด หิรัญศิริ นำก่อการรัฐประหาร) และเดือนเมษายน 2524 (กลุ่ม "ยังเติร์ก"
ก่อการรัฐประหาร) แล้ว ผมก็คงไม่ได้เป็นผู้บัญชาการทหารบก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
คำปราศรัยเชิงปลุกเร้าของ "ดิลก มหาดำรงค์กุล"
ที่ผมจะพูดนี่ตามสไตล์ของคุณดิลก (เสียงบรรดาผู้จัดการสาขาหัวเราะหึๆ)..อ้า..ท่านประธาน..ท่านกรรมการ
และท่านผู้บริหารทุกๆ ท่าน กระผมในนามของคณะกรรมการนะครับ ก็รู้สึกมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งนะครับ
อ้า..ที่ท่านผู้จัดการสาขาที่มีผลงานดีเด่นและได้รับรางวัลอันทรงมีเกียรติในวันนี้นะครับ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)