ตามใจ ขำภโต นาย (จันหนวด) เขี้ยว แห่งค่ายกรุงไทย
ถ้าถามคนหลาย ๆ คนว่าเวลาเอ่ยชื่อตามใจ ขำภโต เขาจะคิดถึงอะไรก่อน ก็คงได้รับคำตอบไปคนละทิศละทาง
แต่ที่น่าจะตรงกันก็คือเรื่อง “หนวด” และ “เสียง” ที่แหบพร่าอันเป็นเอกลักษณ์ประจำตัว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
โลโกธนาคารกรุงไทย, กระทรวงการคลัง นกไทยหรือนกฝรั่ง ?
ดวงตราของธนาคารกรุงไทยหรือเรียกทับศัพท์ว่า “โลโก” เป็นรูปนกที่รู้จักกันดีในชื่อของ
“นกวายุภักษ์” หรือเป็นโลโกที่ยืมมาจากกระทรวงการคลัง เช่นเดียวกันกับสำนักงานสลากกินแบ่ง
กรมสรรพสามิต กองกษาปณ์ และกรมบัญชีกลาง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
คณะกรรมการของธนาคารกรุงไทย ปี 2529
จริง ๆ แล้วถ้าจะวิเคราะห์กันให้ถึงแก่นก็ต้องยอมรับกันว่ารากฐานของความเป็นมาของธนาคารกรุงไทยนั้น
ได้เกิดขึ้นมาอย่างทุลักทุเลบนสภาวะของธนาคาร 2 แห่งที่ใกล้จะล้ม คือธนาคารเกษตรและธนาคารมณฑล
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
คำปราศรัยครั้งแรกและครั้งสุดท้ายของ ตามใจ ขำภโต
เมื่อวันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2528 ที่โรงแรมแกรนด์พาเลซ พัทยา ธนาคารกรุงไทยได้มีการจัดสัมมนาผู้บริหารระดับสูงร่วมกับผู้จัดการสาขาทั่วประเทศ
217 สาขา เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ธนาคารพาณิชย์ของรัฐแห่งนี้ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น
236 คน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
ไม่มีงานเลี้ยงใดที่ไม่เลิกรา
เจ้าของประโยคข้างบนนี้ก็คือ ตามใจ ขำภโต ที่พูดในงานเลี้ยงที่กรรมการสหภาพแรงงานพนักงานกรุงไทยจัดเลี้ยงส่งให้ที่ห้องอาหารฮ่องเต้
โรงแรมแอมบาสเดอร์ เมื่อเที่ยงวันที่ 21 มกราคม 2529
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
ไม่อยากเห็นรัฐบาลขอให้ธนาคารพาณิชย์ไปช่วยคนเพียงกลุ่มเดียว
ในการให้สินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชย์ในบ้านเราสำหรับโครงการใหญ่ๆ จะมีอยู่ 2 ลักษณะคืออย่างแรกเป็นการพิจารณาให้สินเชื่อไปตามปกติ โดยถือหลักเกณฑ์ในเรื่องความเสี่ยงทางธุรกิจ คือเป็นการให้สินเชื่อในโครงการที่เห็นว่าน่าจะเกิดขึ้นได้ในประเทศของเรา แต่ถ้ามันมีปัญหาขึ้นในวันข้างหน้าก็ต้องยอมรับว่านี่คือความเสี่ยง ก็ต้องเข้าไปแก้ไข
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)