Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ352  
Positioning45  
ผู้จัดการรายวัน246  
ผู้จัดการรายสัปดาห์20  
PR News654  
Total 1297  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Banking and Finance > Banking

Subcategories
Cash Management
Interest Rate
Consumer Banking
Retail Banking
Electronic Banking


นิตยสารผู้จัดการ (281 - 290 of 352 items)
ความขัดแย้งในแบงก์แหลมทองเกิดจากความขัดแย้งในครอบครัว? สุระ จันทร์ศรีชวาลา ได้หุ้นแหลมทองล็อตใหญ่ล็อตแรกอย่างไร? สมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ มีเสียงพูดกันมากว่าปัญหาแบงก์แหลมทองมันเริ่มจากปัญหาความขัดแย้งภายในครอบครัว?(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
แบงก์แหลมทองก่อนปี 2525 ตำนานของ “นันทาภิวัฒน์” และ “ราชนิกูล” ณ ซอยอโศก!?! สิ่งที่ไม่น่าเชื่อแต่ต้องปลงใจเชื่อเกิดขึ้นได้เสมอในธุรกิจด้อยพัฒนาเช่น ประเทศเรา !(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
วานิช ไชยวรรณ กับความขัดแย้ง สมบูรณ์-สุระ ตัวแปรที่อ่านยาก... น่าจะมีคนเป็นจำนวนมากอยากทราบว่าเขา-วานิช ไชยวรรณ รู้สึกนึกคิดเช่นไรเกี่ยวกับเรื่องวุ่น ๆ ในแบงก์แหลมทองหรือพูดอีกทีก็คือความขัดแย้งระหว่างสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ กับกลุ่มสุระ จันทร์ศรีชวาลา(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
สุวัฒน์ พฤกษเสถียร-ไพศาล พืชมงคล การต่อสู้ของฝ่าย “ธรรม” กับ “ธรรม” ที่ไม่มีใครยอมเป็นฝ่าย “อธรรม” เกือบ 2 ปีมานี้ทั้งสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ และสุระ จันทร์ศรีชาลา ต้องเหน็ดเหนื่อยกับการกรำศึกระหว่างกันและกันอย่างมา ๆ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 ผู้ถือหุ้นทางฝ่ายสุระฟ้องแบก์แหลมทองกับสมบูรณ์เป็นจำเลยต่อศาลแพ่งคดีหมายเลขดำที่ 2205/2527(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
เราควรจะมีการ TAKE OVER แบบนี้มากขึ้น แต่ต้องอยู่ในกติกาที่เป็นธรรมกว่านี้ ความจริงเรามี Corporate takeover อย่างในกรณีแบบแหลมทองมานานแล้ว แต่มักจะมาในลักษณะของปลาใหญ่กินปลาเล็ก บ่อยครั้งไปที่เรามักจะได้ยินตำนานในอดีตถึงการยึดหุ้นหรือยึดบริษัทของคนรุ่นเก่า ๆ ที่เจ้าหนี้จะยึดลูกหนี้(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
ไตโยโกเบเป็นใครมาจากไหน? ตอบกันสั้น ๆ และกระชับ ไตโยโกเบ คือธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งเข้ามาตั้งสำนักงานที่กรุงเทพฯ เมื่อปี 2526 มีนายโนริอาเกะ ยามากูชิ เป็นผู้จัดการ พิศมร บุญประคอง เป็นผู้ช่วยผู้จัดการ(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
EXECUTIVE FORUM บนชั้น 29 ของธนาคารกรุงเทพ วันนั้น (วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2529) บนชั้น 29 ของธนาคารกรุงเทพ หนาแน่นไปด้วยบรรดานักธุรกิจที่มีชื่อเสียงในวงการหลายต่อหลายคน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริหารของธนาคารที่บ้างจับกลุ่มคุยกันเอง บ้างก็แวะเวียนเข้ามาหาท่านผู้มีชื่อเสียงในวงการซึ่งมักจะเป็นลูกหนี้ของธนาคารเสียส่วนใหญ่(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)
WORKSHOP ของแบงก์ศรีนคร ก้าวแรกแนวรุกของงานด้านภาพพจน์หลังจากสงบมาตลอด วันนั้น (19 ก.พ.2529) ศาลาศรีนคร ของธนาคารศรีนครสำนักงานใหญ่ คลาคล่ำไปด้วยนักธุรกิจระดับกลางขึ้นไปกว่า 200 คน ส่วนใหญ่ประกอบธุรกิจด้านการค้า(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)
NEW GENERATION อยากให้ปิยะบุตร-เศรณี-กรพจน์ จับมือกัน สหธนาคารเป็นธนาคารที่เหลือไม่กี่แห่งที่บริหารงานโดย GENERATION เดียว เหตุผลหนึ่งที่น่ากล่าวถึง คือ บรรเจิด ชลวิจารณ์ และชำนาญ เพ็ญชาติ ผู้ถือหุ้นใหญ่ (ที่มีเหตุผลชอบธรรม) บริหารธนาคารนี้ปัจจุบันทายาทของตระกูลอายุน้อยเกินไป(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)
จับตา “สุเจตน์-พล.ร.ต.ชาโณ”...ดัชนีการเปลี่ยนแปลง “ประนีประนอม หรือแตกหัก?” หากบรรเจิด ชลวิจารณ์ ต้องลาจากเก้าอี้กรรมการผู้จัดการสหธนาคารมีการวิเคราะห์กันว่าจะออกมา 2 ลักษณะ ดัชนีการเปลี่ยนแปลงอันนี้ ขอให้จับตาดูคนสองคนนี้ให้ดี...(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)

Page: ..21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us