แบงก์ศรีนคร "พลิกตัว" โชว์ฝีมือออกเอฟอาร์ซีดี
ขอพูดเรื่องซึ่งดูวิชาการธนาคารสักครั้งเถอะ
การแข่งขันในหมู่ธนาคารพาณิชย์ไทยในการระดมเงินฝากจากตลาดภายในประเทศโดยอาศัยเทคนิคสมัยใหม่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เอทีเอ็ม (ATM) นั้นยังคงความดุเดือดมิได้ถดถอยไปเท่าใดนัก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
เรามีอำนาจในการคุมตลาดเงินได้มากพอสมควรแล้ว
ในระยะ 3 เดือนที่นั่งทำงานในธนาคารกรุงไทย ผมเห็นว่าปัญหาสำคัญของธนาคารกรุงไทยพอจะแยกแยะออกมาได้
4 เรื่องด้วยกัน ประการแรก ก็คือเร่งการขยายตัวของกองทุนธนาคารเพื่อทำให้การปล่อยสินเชื่อเพิ่มขึ้น
ปัญหาที่สอง ก็คือการขาดประสิทธิภาพด้านบริหารการเงิน รวมทั้งขาดการประสานงานระหว่างฝ่ายงาน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
เช็ครูปแบบใหม่ของกสิกรไทย ... ด้วยความร่วมแรงแข็งขันของ TBSP
ในระยะเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมานี้ ธนาคารทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นธนาคารพาณิชย์หรือธนาคารของรัฐก็ดี
ต้องหัวหมุนกับคดีปลอมแปลงเช็คในตลาดที่เกิดขึ้นเป็นว่าเล่น เหมือนไม่สะทกสะท้านต่อกฎหมาย
ความเสียหายเกิดแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (ยกเว้นผู้ทำปลอม) ทั้งลูกค้าของธนาคาร
ผู้รับเช็ค รวมทั้งธนาคารเองก็เสียชื่อเสียงและพลอยให้เสียประโยชน์ไปด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
สมบูรณ์-สุระ ใครฉีกสัญญาประนีประนอมก่อน?
ประเด็นนี้ไม่สู้มีข้อกังขากันเท่าใดนัก เพราะคงไม่มีใครยอมรับว่าฝ่ายตนเป็นผู้ฉีกสัญญาก่อน
อย่างไรก็ตาม แง่มุมทัศนะที่มองซึ่งกันและกันว่า เป็นผู้ที่ละเมิดข้อตกลงประนีประนอมนั้นมีเหตุผลหนักแน่นไม่น้อย
ส่วนจะตัดสินใจว่าเหตุผลใครดีกว่า...ก็แล้วแต่
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
อย่างนี้หรือที่เขาเรียกว่าแถลงข่าว?
เวลานัดแถลงข่าวของสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ กำหนดไว้ 15.30 น. ของวันศุกร์ที่
28 มีนาคม 2529 อันเป็นวันประชุมผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารแหลมทอง มีผู้สื่อข่าวจากสื่อมวลชนฉบับต่าง
ๆ ไปนั่งรออยู่กว่า 30 คน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)