อภิวัฒน์ นันทาภิวัฒน์ ถึงวันที่ต้องโตเสียที
"อยากให้โลกนี้ไม่มีสุระ" คงไม่เพียงสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ เท่านั้นที่คิดอย่างนี้
พี่น้องนันทาภิวัฒน์ส่วนใหญ่ ก็คงจะคิดในทำนองเดียวกัน จะมีที่แตกต่างก็คงจะเป็นสะใภ้ใหญ่และภิวัฒน์นันทาภิวัฒน์ซี้ปึ้กของสุระผู้วายชนม์ไปเมื่อหลายปีก่อนหน้านี้เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
"ดร. สม จาตุศรีพิทักษ์ "นกบินสูงได้เอง…อาจไม่มีลมส่ง?"
ต้องนับว่าเป็นความกล้าหาญของ ดร. สม จาตุศรีพิทักษ์ ที่เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย
เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2530 ยอมทิ้งตำแหน่งกรรมการรองผู้จัดการเบอร์ลี่ยุคเกอร์
ทั้งที่ถ้าอยู่ต่อไปโอกาสที่จะได้เป็นหมายเลขหนึ่งของที่นี่ก็อยู่ไม่ไกล
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
"อุทธรณ์ เตชะไพบูลย์ จะลงเวทีแต่ยังไม่ได้ลง!"
หลังจากอยู่บนเก้าอี้กรรมการผู้จัดการธนาคารศรีนครมาตั้งแต่ปี 2521 อุทธรณ์
เตชะไพบูลย์ น้องชายคนที่หกแห่งตระกูลเตชะไพบูลย์ก็ถึงคราวที่จะต้องลุกขึ้นจากเก้าอี้ตัวนี้
นับเป็นนายแบงก์คนล่าสุดที่อำลาวงการไป
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
"เริงชัย มะระกานนท์ …พ้นพงหนาม?"
เริงชัย เป็นนักเรียนทุนคนแรกของแบงก์ชาติที่ขึ้นถึงตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
ซึ่งตำแหน่งสูงสุดสำหรับข้าราชการประจำของแบงก์ชาติ เริงชัยเป็นผู้ช่วยผู้ว่าการสายที่
5 รับผิดชอบสำนักงานสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
"ชิน โสภณพนิช หนังเหนียวกว่าที่คิด"
ตอนที่ชิน โสภณพนิชต้องระเห็จไปอยู่ที่ฮ่องกงเมื่อปี 2501 นั้น ใครต่อใครก็นึกว่าชินคงจะต้องปักหลักอยู่ที่นั่นไปตลอด
ทิ้งแบงก์กรุงเทพให้บุญชู โรจนเสถียรดูแล
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ภาระกิจอีกชิ้นของผู้ว่าแบงก์ชาติ
เรื่องของเรื่องมาเริ่มตรงที่ประติมากรรมหน้าตาแปลกๆ ที่อยู่ริมขอบรั้วแบงก์ชาติตรงบริเวณตึกใหม่ด้านติดถนนสามเสน
สอบถามคนของแบงก์ชาติดูทราบว่ามันคือศาลเจ้าเทพารักษ์หรือเทวสถาน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ชาตรี โสภณพนิช บนชะง่อนผาสูงชัน
คนโตของแบงก์ใหญ่ที่สุดในอาเซียนอย่างชาตรี โสภณพนิช ดูจะไม่แตกต่างจาก
OVERSEA-CHINESES คนอื่น ๆ เลย เขากล่าวว่าเขายังไม่คิดเรื่องรีไทร์แม้เขาจะอายุย่างเข้า
54 ปีแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)