สหธนาคาร : ข่าวลือที่มากับลมร้อน
การประชุมผู้ถือหุ้นของธนาคารสหธนาคารประจำปี 2533 เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม
ผ่านพ้นไปด้วยความเรียบร้อยสร้างความผิดหวังให้กับนักสังเกตการณ์วงนอกที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียแต่อยากเห็นการได้เสียเกิดขึ้นเป็นอันมากไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
จักรทิพย์ในกลุ่มสุเอซ
เวลา 92 ปีในประเทศไทยของธนาคารอินโดสุเอซ นับเป็นช่วงเวลาที่ยาวนานมากสำหรับการลงหลีกปักฐานอย่างแข็งแกร่งในประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2533)
โรเบิร์ต เดวิส มือรุกตลาด TRADE FINANCE
หนุ่มใหญ่วัยต้น 40 ปีรูปร่างสันทัดถ้าเทียบกับโครงร่างของชาวเอเชียทั่วไป
นัยน์ตาสีฟ้าบ่งบอกได้ชัดเจนว่าเขาไม่ใช่คนเอเชีย เพียงแต่ว่า 1 ใน 3เสี้ยวเวลาของชีวิต
เขาใช้มันย่ำท่องไปในตลาดการเงินแถบเอเชีย ไม่ว่าจะเป็นจาร์กาตาร์ มะนิลา
สิงคโปร์ และปัจจุบันคือกรุงเทพ ฯ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
หลังชวลิต : ใครจะนั่งเก้าอี้ผู้ว่าแบงก์ชาติ?
อังคารที่ 6 มีนาคม เป็นวันที่ชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีปัจจุบัน ได้บันทึกประวัติศาสตร์การเงินไว้อีกหน้าหนึ่ง
เมื่อใช้มือรมต.คลังประมวล สภาวสุ ปลดกำจร สถิรกุลออกจากตำแหน่งผู้ว่าแบงก์ชาติ
พร้อมประกาศแต่งตั้งชวลิต ธนะชานันท์ลูกหม้อที่ทำงานในแบงก์ชาติมานาน 30
ปีและเป็นรองผู้ว่าการมานานกว่า 6 ปีขึ้นเป็นผู้ว่าการแทน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ชีวิตง่าย ๆ แต่ทันโลกของชวลิต
ชวลิตใช้เวลาส่วนใหญ่หลังเวลางานหมดไปกับการทุ่มเทการอ่านหนังสือทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นนวนิยายของเฟคเดอริค
ฟอร์ไซร์ในเรื่อง THE NEGOTIATER หรือเรื่องหนัก ๆ ของวิลเลียม กลีเดอร์ใน
THE SECRETS OF THE TEMPLE
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ศึกสายเลือด ธอส. "กิตติ-ศักดา"ขิงก็ราข่าก็แรง
กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล ลาออกจากแบงก์อาคารสงเคราะห์ไปแล้ว เรื่องราวความขัดแย้งในองค์กรยุคเขา
เกิดเป็นระลอก ผู้บริหารระดับสูงที่ถูกโยกย้ายต่างวิ่งเข้าหาเส้นสายการเมืองภายนอก
เพื่อต่อสู้กับเขาอย่างดุเดือด จนท้ายทุดเขาต้องลาออกด้วยความเบื่อหน่าย….ฉากเหตุการณ์เช่นนี้คือศึกสายเลือดที่มีผลต่อพฤติกรรมองค์กรในแบงก์อย่างช่วยไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2533)
เภา สารสิน จากโปลิศมาเป็นนายแบงก์
คำตอบสำหรับชีวิตหลังวัย 60 ของข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในวันนี้มีทางเลือกเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่ง
นอกเหนือไปจากเลี้ยงหลานอยู่กับบ้าน ไปทำไร่ทำสวนต่างจังหวัด ซึบซาบกับรสพระธรรมหรือเริ่มต้นการพักผ่อนอย่างแท้จริงของชีวิต
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
ผู้จัดฉากประชุมแบงก์โลก
ไทยเป็นประเทศที่ 5 ของเอเชียที่ลงทุนจัดประชุมแบงก์โลกในเดือนตุลาคม 2534
เป้าหมายเพื่อ SYNERGY ที่จะได้กับประเทศไทย…นิพัทธ์ พุกกะณะสุต ข้าราชการระดับสูงในกระทรวงการคลังคือบุคคลทีอยู่เบื้องหลังเรื่องนี้
แต่หลายฝ่ายหวั่นเกรงว่า การขาดแคลนคนบริหารงานประชุมขนาดใหญ่สุดยอดของโลกครั้งนี้จะทำให้รัฐบาลไทยขายขี้หน้าก็เป็นได้…
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
คู่มือจัดประชุมธนาคารโลกฯปี 2534
แม้เวลานี้ ทางธนาคารโลก/ไอเอ็มเอฟ และกระทรวงการคลังไทย จะยังไม่สามารถให้ตัวเลขผู้เข้าร่วมประชุม
และคณะติดตามที่แน่นอนได้ แต่จากการประชุมที่เบอร์ลิน เมื่อปี2531 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม
และคณะผู้ติดตามจำนวน 12,500 คน อันประกอบด้วย…
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
2534 พร้อมรบ
ธนาคารไทยพาณิชย์ทุ่มเงิน 168 ล้านบาทสร้างศูนย์ฝึกอบรมถาวรขึ้นที่ชลบุรี และทุ่มอีกร่วม
50 ล้านบาทเพื่อปรับปรุงตกแต่งสาขาใหม่ทั่วประเทศ ความหมายคงไม่ได้อยู่ที่ธนาคารแห่งนี้ได้กลายเป็นธนาคารแห่งแรก
ที่มีศูนย์ฝึกอบรมถาวรที่ใหญ่พอๆ กับโรงแรมชั้นหนึ่ง หรือเกิดมีสีสันใหม่น่าใช้น่าลองในอาคารสถานที่ของสาขาขึ้นพร้อมๆ
กันทั่วประเทศ แต่จะมีอะไรอีกหละที่ให้ความหมายถึงกลยุทธ์และเป้าหมายที่ลึกลงไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2532)