ไทยพาณิชย์ยุค ดร.โอฬาร ปรับองค์กร รองรับนโยบายเดิม
ดร.โอฬาร ไชยประวัติ อดีตคนแบงก์ชาติที่หันมาเอาดีในธุรกิจธนาคารพาณิชย์
จนสามารถเติบโตขึ้นสู่จุดสูงสุดในธุรกิจนี้ได้ ด้วยการได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคารไทยพาณิชย์
- ธนาคารพาณิชย์ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศ หลังจากที่ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่มีอันต้องลาออกไปรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"วิชิต สุรพงษ์ชัยมาแทนชาตรี"
ยังไม่ถึงเวลาของโทนี่ที่จะรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพราะเขาต้องเรียนรู้สายงานให้กว้างขวางกว่านี้
" ชาตรี โสภณพนิช บิ๊กบอสส์ แห่งแบงก์กรุงเทพยักษ์ใหญ่แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวถึง
"ชาติศิริ" ลูกชายวัย 33 ปี ขณะที่ชาตรีอยู่ระหว่างการตัดสินใจว่าจะลงจากตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ระหว่างสิ้นปี
2535 หรือสิ้นปี 2536
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ธนาคารกัมพู"
กัมโบเดีย พับลิค แบงก์ หรือที่รู้จักมักคุ้นกันในชื่อธนาคารกัมพู เพิ่งเปิดดำเนินการเมื่อวันที่
25 พฤษภาคมที่ผ่านมา ในบริเวณตลาดกลางของพนมเปญ เป็นกิจการร่วมทุนระหว่างพับลิค
แบงก์ มาเลเซีย ซึ่งเป็นธนาคารติดอันดับหนึ่งในห้าธนาคารรายใหญ่ของมาเลเซียในแง่สินทรัพย์และธนาคารกลางของกัมพูชา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ธนาคารกรุงไทย"
ธนาคารกรุงไทยเป็นธนาคารแห่งแรกที่เข้าไปตั้งสำนักงานสาขาอย่างเต็มรูปในพนมเปญ
โดยได้รับความเห็นชอบจากธนาคารกลางกัมพูชา และเพิ่งได้ฤกษ์เปิดดำเนินการไปเมื่อ
29 พฤษภาคมที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ธนาคารกรุงเทพ"
ธนาคารกรุงเทพสาขาพนมเปญเพิ่งเปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 26 มิถุนายนที่ผ่านมา
เป็นกิจการธนาคารพาณิชย์จากประเทศไทยรายล่าสุดที่รุกเข้าไปในกัมพูชา ส่วนทำเลที่ตั้งสำนักงานอยู่ในบริเวณตลาดกลาง ใกล้กับธนาคารกลางของกัมพูชา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ธนาคารกสิกรไทย สาขาพนมเปญ"
กิจการธนาคารในกัมพูชาอีกแห่งหนึ่งที่จะทวีบทบาทมากขึ้นในอนาคตก็คือ ธนาคารกสิกรไทยพนมเปญ
ซึ่งกำลังดำเนินการปรับปรุงบูรณะสำนักงานชั่วคราวอยู่ ขณะนี้ทางธนาคารได้รับอนุญาตให้เข้าไปเปิดสำนักงานถาวรได้แล้ว ทว่ายังต้องรอการอนุมัติจากธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ศุภชัย พานิชภักดิ์ "ไม่มีใครเข้าใจผม"
"ผมไม่มีทางพูดอะไรเป็นเรื่องบวกได้เลยในช่วงหน้าสิ่วหน้าขวานไม่ว่าอาจารย์วีรศักดิ์จะไปพูดเรื่องเปลี่ยนชื่อ
หรือแบงก์ชาติจะออกมาพูดอะไรก็ตาม เขาจ้องอยู่ทุกฝีก้าว" เจ้าของคำพูดกล่าวด้วยสีหน้าเหนื่อยหน่าย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ชื่อนั้น สำคัญฉะนี้ !!!"
ชื่อนั้น สำคัญไฉน ? เป็นคำถามที่ถามกันมานานสำหรับคนที่ไม่ยึดถือรูปนาม
แต่สำหรับแบงก์ทหารไทย ณ วันนี้คงจะรู้แล้วว่า "นาม" นั้นสำคัญแค่ไหน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"พลเอกสิทธิ จิรโรจน์ "คงจะปฏิเสธไม่ได้ว่าทหารก็ช่วยแบงก์ทหารไทย"
"ก็ย้อนไปถึงตอนอยู่ทหารไทย ทหารไทยตอนนั้นผมจำได้ว่ามีสาขาทั้งหมดตอนปีที่ผมออก
ปี 23 มีประมาณ 68 สาขา ถ้าผมจำไม่ผิด ผมไปเยี่ยมมาในฐานะกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหารประธานกรรมการบริหาร
ผมไปมาทั้งหมดประมาณ 64 สาขา ยังเหลือเฉพาะภาคใต้อีก 4 สาขา ผมไม่ได้ไป"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)