ความเสี่ยงของแบงก์ใช่ว่ามีเฉพาะสินเชื่อ
คนส่วนใหญ่ยังคิดว่างานบริหารความเสี่ยงในสถาบันการเงิน มีจุดโฟกัสใหญ่อยู่ที่เรื่องของการปล่อยสินเชื่อ แต่ความจริงในการทำงานทุกกระบวนการล้วนมีโอกาสเกิดความเสี่ยงได้ทั้งสิ้น หลายคนอาจสงสัยเมื่อเห็นผังโครง สร้างการบริหารงานของธนาคารนครหลวง ไทย เพราะในเมื่อได้มีการตั้งฝ่ายบริหารความเสี่ยงขึ้นมาแล้ว ทำไมจึงต้องแยกฝ่าย
บริหารความเสี่ยงสินเชื่อออกมาอีกต่างหาก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
KBANK's Outsourcing Case Study อีกเรื่องของธนาคารไทย
"มันก็เห็นว่าโจทย์คืออะไร เห็นอยู่ว่าคอขวดอยู่ตรงไหน ถึงจุดหนึ่งมันก็ปิ๊งขึ้นมาว่า
มันต้องมีทางออกสิ เราไม่ใช่คนแรกในโลก แต่เราเป็นคนแรกในเมืองไทยที่ทำในสเกลใหญ่
สเกลก็คือยกให้ไปหมด ไทยทนุทำแค่ 20 คน แต่ดีบีเอส เวิลด์ไวด์ เซ็นสัญญาวันเดียวกับเรา
แต่ตอนนั้นเราไม่ได้ทำข่าวใหญ่ ดีบีเอสทำเป็นข่าวใหญ่ แต่จริงๆ แล้วเซ็นพร้อมกัน
ผมเชื่อเลยว่าอีกไม่นานก็จะต้องมีคนทำตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
เรื่องที่ยังต้องปรับปรุง
ช่วงสายของวันที่ 7 กรกฎาคม บรรยากาศบริเวณชั้นล่างของธนาคารกรุงไทย มีความคึกคักเป็นพิเศษ
เพราะเป็นวันที่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีกำหนดการเดินทางมาเยี่ยมชมกิจการของธนาคารแห่งนี้ ถือเป็นหนึ่งในนายกรัฐมนตรีเพียงไม่กี่คน ที่แสดงท่าทีว่าให้ความสนใจต่อการดำเนินงานของธนาคารกรุงไทยอย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ฉีกกรอบประเพณีแบงก์
ตลอดช่วงบ่ายต่อเนื่องถึงย่ำค่ำของวันที่ 17 กรกฎาคม บริเวณด้านหน้าอาคารสมัชชาวาณิช
2 ปากซอยสุขุมวิท 33 เต็มไปด้วยความคึกคัก เพราะเป็นวันที่สถาบันการเงิน
2 แห่ง เลือกใช้เป็นวันเปิดตัวให้บริการทางการเงินในรูปแบบใหม่ ซึ่งฉีกออกไปจากกรอบประเพณี
เดิมๆ ที่เคยปฏิบัติกันมาเป็นเวลานับ 10 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ข่าวร้อนๆ ที่ทุกแบงก์ควรสดับ
ลูกค้ายังคงชอบไปแบงก์มากกว่าติดต่อผ่าน Internet
แบงก์ทั้งหลายในอเมริกาจึงกำลังแข่งกันเปิดสาขากันอย่างเอาเป็นเอาตาย
การเปิดสาขาแห่งแรกในชิคาโกของ Bank of America Corp เมื่อเดือนมกราคมที่ผ่านมา
คือ การเปิดฉากโจมตีในสงครามแย่งชิงลูกค้ารายย่อยของธนาคารระลอกใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
From Ruins to Standard Chartered Nakornthon
ท่ามกลางซากปรักหักพังของสถาบันการเงินไทยที่ต่างล่มสลายจากผลของวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ
เมื่อปี 2540 การเติบโตและความสำเร็จของ Standard Chartered Nakornthon ในช่วงปีที่ผ่านมา
กำลังบ่งบอกทิศทางและมาตรฐานใหม่ของธุรกิจสถาบันการเงินไทยในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
Building an Asia Care U
ทุกวันนี้ ความคาดหวังของผู้บริโภคสูงมากขึ้น เพราะตลาดสร้างให้เกิดความต้องการดังกล่าว
ดังนั้นธนาคารเอเชีย สมาชิกของเอบีเอ็น แอมโร ต้องดำเนินการเพื่อฉีกหนีคู่แข่ง
แต่ถ้าจะทำธุรกิจในอีกรูปแบบหนึ่ง เพื่อสนองตอบลูกค้าไม่ใช่เฉพาะแค่ปรับเปลี่ยนหน้าตาสาขาเท่านั้น
จะต้องจัดการภายในองค์กรด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
แบงก์ต่างชาติ ขุดทองในจีน
ทุกๆ ปีจะเห็นธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศเข้าไปลงทุนในจีนเพิ่มขึ้น แต่อุปสรรคสำหรับการดำเนินธุรกิจยังไม่ถูกขจัดไปให้สิ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งระเบียบกฎหมายที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
Local Banking
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ธนาคารไทยอยู่ในช่วงอุดมคติที่ว่างเปล่า ธนาคารไทยอุบัติขึ้นอย่าง จริงจังและเป็นรูปร่างเชิงอุดมคติครั้งแรกในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
เพื่อสนับสนุนการค้าส่งออกของกลุ่มตนเอง เจ้าของธุรกิจ ส่งออกสินค้าพืชไร่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)
Money Show Revolution
นับตั้งแต่บัณฑูร ล่ำซำ แห่งธนาคารกสิกรไทยสร้างความตื่นตาและสงสัย ให้กับวงการธนาคารพาณิชย์เมื่อปี
2543 ด้วยการนำเสนอรูปแบบใหม่ภายใต้โครงการ "TFB e-Girls" ถือเป็นการปฏิวัติการดำเนินธุรกิจธนาคารครั้งสำคัญ
หลังได้รับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2545)