Deal of the Year
คงไม่เป็นเรื่องที่เกินเลยไปนัก หากจะยกกรณีการกระจายหุ้นของธนาคารกรุงไทย เมื่อเดือนตุลาคมปีที่แล้ว เป็น Deal of the Year เพราะนอกจากจะเป็น Deal การขายหุ้นที่ใหญ่ที่สุดในขณะนั้น ความสำเร็จของ Deal นี้ ยังมีเบื้องหน้าเบื้องหลังหลายอย่างที่คนส่วนใหญ่ไม่รู้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
1 ปี 4 เดือน ก่อนขายหุ้น
การเข้าไปเป็นที่ปรึกษาทางการเงินในการกระจายหุ้นธนาคารกรุงไทยของ บล.ภัทร มีกระบวนการทำงานค่อนข้างละเอียด เพื่อให้ Deal นี้ประสบผลสำเร็จ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
100 กว่า Meeting ใน 2 สัปดาห์
การออกไปโรดโชว์ เพื่อกระจายหุ้นของธนาคารกรุงไทย ทำกันในช่วง 2 สัปดาห์ครึ่ง
ก่อนวันที่ 8 ตุลาคม 2546 ซึ่งกำหนดให้เป็นวันทำ Book Building ซึ่งถือเป็นขั้นตอนสุดท้าย
ก่อนเริ่มเปิดขายให้นักลงทุนจองซื้อในวันรุ่งขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
What's next?
ตั้งแต่ช่วงต้นปีนี้ ธนาคารกสิกรไทย (KBANK) ต้อนรับปีใหม่ด้วยความเคลื่อนไหวหลายสิ่งหลายอย่าง
จนหลายคนต้องตั้งคำถามอยู่ในใจว่ากำลังเกิดอะไรขึ้นกับธนาคารแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
Once in My Life
"ไทยพาณิชย์" เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งที่ 3 ที่ ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย
มีโอกาสได้มานั่งในตำแหน่งผู้บริหารสูงสุด และดูเหมือนจะเป็นธนาคารเดียว
ที่เขาประสบความสำเร็จ สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่เขาตั้งใจไว้มากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
บันได 4 ขั้นสู่ Universal Banking
การปรับเปลี่ยน Model ธุรกิจของธนาคารไทยพาณิชย์ มิได้มีความหมายเพียงแค่การเปลี่ยนแปลงโลโกและรูปโฉมของสาขา แต่ยังเจาะลึกเข้าไปเปลี่ยนแปลงกระบวนการภายในทั้งหมดเพื่อให้เอื้อต่อการให้บริการกับลูกค้าได้อย่างครบวงจร
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
การโอนเงินที่ไร้ขีดจำกัด
ความซับซ้อนของการทำธุรกิจที่มีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องไปพร้อมกับเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการชำระราคา
รูปแบบการจ่ายเงินใหม่ๆ ได้ถูกคิดค้นขึ้นมา จึงทำให้แบงก์ชาติจำเป็นต้องเข้ามามีบทบาทในเรื่องนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2546)
แนวทางที่ชัดเจนของ SCB
หลังจากใช้เวลาเกือบ 5 ปี ตั้งแต่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจ เพื่อแก้ปัญหาที่สะสมอยู่ภายใน
รวมถึงหาแนวทางในการทำธุรกิจต่อไปในอนาคต ในที่สุด ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย ประธานกรรมการบริหาร
ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ก็สามารถค้นพบแนวทางการทำธุรกิจที่ชัดเจน สำหรับธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของไทยแห่งนี้ออกมาได้แล้วคือการเป็นกลุ่มธุรกิจการเงินเต็มรูปแบบ
(Universal Banking)
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2546)
แบงก์รัสเซียหันจับลูกค้ารายย่อย
ธนาคารเอกชนในรัสเซียทั้งท้องถิ่นและต่างชาติต่างกำลังขยายธุรกิจลูกค้ารายย่อยกันยกใหญ่
สาขาใหม่ๆ ของธนาคารทั้งเจ้าถิ่นและต่างชาติหลายสิบแห่งต่างทยอยเปิดขึ้นรอบๆ
กรุงมอสโกและเมืองอื่นๆ ซ้ำยังให้บริการใหม่ๆ ที่ชาวรัสเซียไม่เคยได้รับมาก่อน
เช่น ธนาคาร 24 ชั่วโมงและสินเชื่อบุคคลแบบไม่มีหลักประกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
ลูกค้านักธุรกิจเชิญเคาน์เตอร์นี้
ลูกค้าธนาคารกสิกรไทยที่เคยหงุดหงิดกับการต่อแถวยาว
บริเวณหน้าเคาน์เตอร์ของสาขา น่าจะเริ่มสบายใจขึ้นมาได้บ้าง
เมื่อธนาคารได้แยกเคาน์เตอร์ออกมาให้บริการกับลูกค้า
องค์กรธุรกิจ ซึ่งใช้เวลาทำรายการนานกว่าปกติเป็นการเฉพาะ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)