ว่าด้วยจีนกับยุคอาณานิคม
"15 ปีที่ผ่านมา สรุปสั้นๆ ก็คือ เริงร่ากับฟองสบู่ แล้วก็แตก แล้วก็แก้ แก้หนี้เสียอันสืบเนื่องมาจากความหลงระเริงของสังคม คือหมายความว่าทุกอย่างมีแต่ขึ้นๆๆ และไม่มีลง 15 ปีต่อไปสู้กับอาณานิคม ซึ่งก็ยังไม่มีผลที่จะตอบได้ว่าสู้ได้หรือไม่ได้ รอบแรกก็คนที่ฐานแย่จริงๆ ก็พังไปเลย"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
ว่าด้วย Branding
"ธนาคารพาณิชย์ไทยถ้าเทียบกับต่างประเทศมีอะไรเด่น ถ้าดูขนาดนี่ ไม่มีอะไรเด่น แบงก์กรุงเทพที่ว่าใหญ่ๆ เมื่อเทียบกับในมาตรฐานโลกเล็กมาก สินค้าแต่ละตัวก็ไม่มีอะไรเด่น สินค้าหลายตัวเราก็ไม่มีอะไรเด่นอยู่แล้วสินค้าทางการเงินมันก็เป็น commodity อย่างที่ผมเคยพูดไปแล้ว..."
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
บัณฑูร ล่ำซำ "ผม VISIBLE ผมยืนพูด"
"ผม Visible ผมยืนพูด" เขาวิสัชนาด้วยความคิดรวบยอดที่น่าสนใจ เมื่อถูกตั้งปุจฉาว่า ทำไมสังคมธุรกิจไทยยอมรับเขาเป็น Role Model อย่างเหนียวแน่น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
KK เน้นกลยุทธ์บริหารต้นทุน
เกียรตินาคิน ธนาคารน้องใหม่ที่เปิดดำเนินธุรกิจเป็นรายที่ 2 รองจากธนาคารทิสโก้ ได้เปิดแถลงผลดำเนินงาน รอบปี 2548 เพื่อสะท้อนกลยุทธ์อันสำคัญของการทำธุรกิจ ฐานะผู้เล่นหน้าใหม่ในตลาด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2549)
แบงก์ใหม่แต่เก๋า
ธนาคารทิสโก้แถลงผลการดำเนินงานงวดไตรมาสแรกปีนี้มีกำไรสุทธิ 544 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5.2% จาก 517.12 ล้านบาทในงวดเดียวกันของปีที่แล้ว สาเหตุสำคัญมาจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ดอกเบี้ยจากอัตราผลตอบแทนจากเงินให้สินเชื่อปรับตัวสูงขึ้น รายได้ดอกเบี้ยจากรายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน รายได้เงินปันผลจากเงินลงทุนและกำไรจากการขายเงินลงทุน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2549)
K-Bancassurance
ธนาคารกสิกรไทยเป็นอีกธนาคารหนึ่งที่เริ่มเล็งเห็นความสำคัญของแบงก์แอสชัวรันส์ ถึงแม้การจัดโครงสร้างธนาคารครั้งล่าสุดจะไม่มีธุรกิจประกันรวมอยู่ด้วย แต่ก็ยังมีบริษัท เมืองไทยประกันชีวิต ที่เป็นเครือข่ายของตระกูลล่ำซำและธนาคารร่วมถือหุ้นอยู่ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
Bancassurance ระอุ
ธุรกิจแบงก์แอสชัวรันส์เริ่มได้รับความสนใจจากธนาคารพาณิชย์มากขึ้น หลังแนวคิด Universal Banking ถูกนำมาใช้อย่างเป็นรูปธรรม
โดยไทยพาณิชย์นิวยอร์คไลฟ์ประกันชีวิต เป็นผู้เล่นในตลาดนี้ที่มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
KBank ปรับตัวรับวิธีระดมทุนใหม่ใน SMEs
ขนาดธุรกิจขนาดกลางที่เติบโตจนมีทางเลือกมากขึ้นในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ถูกกว่าสินเชื่อเงินกู้ และความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่ซับซ้อนมากขึ้นมาใช้ป้องกันความเสี่ยง จึงกลายเป็นเหตุให้ผู้เสนอสินเชื่อรายใหญ่อันดับ 2 อย่างแบงก์กสิกรไทย ต้องหันมาเน้นการให้บริการตรงนี้เพิ่มขึ้น หากยังต้องการเข้าไปเฉือนส่วนแบ่งตลาดจากแบงก์กรุงเทพซึ่งเป็นผู้ให้บริการหมายเลข 1 มาให้ได้มากที่สุดแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2549)