"TAX HAVENS"
การไหลเวียนของกระแสเงินในโลกธุรกิจ ปัจจุบันมีขอบเขตขยายออกไปอย่างกว้างขวางตามการพัฒนาของระบบการค้า
การลงทุนระหว่างประเทศ จากแหล่งเงินทุน ณ มุมโลกหนึ่งไปยังจุดอื่นๆ ของโลกเงินตราเดินทางไปอย่างสะดวกรวดเร็วแทบจะในพริบตาเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
"สามเหลี่ยมอินโดจีน"
"อัตราเงินเฟ้อที่ลดลง การยกเลิกปิดล้อมของสหรัฐฯ จะทำให้ปีหน้าเวียดนามมีเศรษฐกิจที่ดีขึ้น
อาเซียนจะต้องสร้างความมั่งคั่งให้กับตนเอง โดยดึงเอาเวียดนามเข้าสู่แบบสามเหลี่ยมแห่งการเติบโตของอาเซียนด้วย"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
"Ecip แหล่งเงินราคาถูกจากยุโรปมาแล้ว"
"เงินทุนเพื่อที่จะเอามาใช้ในการลงทุนในประเทศไทย มันเกินความสามารถในการออมที่เกิดขึ้นภายในประเทศ"
เป็นคำกล่าวของเจ้าหน้าที่แบงก์ชาติท่านหนึ่ง ที่กำลังมองถึงปัญหาการลงทุนของไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
"วิถีการเติบโตของเอกธนกิจ"
ชื่อ FIN 1 หรือเอกธนกิจในเวลานี้ นอกจากจะเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้เชี่ยวชาญในการซื้อกิจการแล้ว
ยังเป็นที่จับตาของนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และนักลงทุนทั่วไปในแง่ที่มีการขยายการลงทุนเข้าไปในกิจการต่างๆ
มากมายทั้งบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดฯ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
ธุรกิจข้ามชาติวาดแผนใหม่รับรวมยุโรป
“พวกเราได้รับผลสะเทือนกันถ้วนหน้า” แอล. ลินด์เซย์ ฮาลสเตด ประธานกรรมการ ของฟอร์ดในยุโรปให้ความเห็นภายหลังเหตุการณ์ความผันผวนในตลาดเงินยุโรปที่ลุกลามเป็นประเด็นทางการเมืองไปในที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
ไทยจะเป็นศูนย์การเงินภูมิภาค
มาตรการเพื่อผลักดันไทยเป็นศูนย์การเงินภูมิภาคได้ดำเนินการมาเป็นระยะ ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 ที่เริ่มด้วยการผ่อนคลายด้านปริวรรตเงินตรา การขยายขอบข่ายการดำเนินธุรกิจของสถาบันการเงิน และการพัฒนาตลาดทุนเพื่อให้เป็นตลาดรอง ปัจจุบันไทยใกล้จะบรรลุเป้าหมายด้วยการจัดตั้ง BIBF และเขตเศรษฐกิจเงินบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
เก็บภาพความผันผวนในยุโรป “อีซี่ 1992” อาจไปไม่ถึงฝัน
ทันทีที่ระฆังสัญญาณตีบอกเวลาเริ่มต้นของปี 1993 ดังขึ้น นั่นคือนิมิตหมายว่าตลาดร่วมยุโรปอันเป็นแนวคิดที่ถือกำเนิดมานานกว่าสามทศวรรษจะก้าวล่วงสู่ภาคของการปฏิบัติเต็มรูปเสียที ทว่า ชั่วเวลาอีกเพียงสามเดือนก่อนถึงกำหนดการดังกล่าวกับปรากฎเหตุการณ์ต่อเนื่องที่ทำให้หลายฝ่ายเริ่มหวั่นใจกับอนาคตของการรวมยุโรป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"เรียล ดอลลาร์ ปัญหาการเงินของเขมร"
เศรษฐกิจของกัมพูชาจะเติบโตไปได้ดีเพียงไรขึ้นอยู่กับความสอดคล้องกันระหว่างการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ,
สังคม และประชาธิปไตยด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
"ที่ภัทรฯ ไม่มี DEAL ประเภทหวือหวา เราต้องการทำ QUALITY ORIENTED"
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ภัทรธนกิจในหลายปีที่ผ่านมามีชื่อในเรื่องการทำอันเดอร์ไรต์หุ้นเข้าตลาดอย่างมาก
ๆ มีหุ้นหลายตัวที่ภัทรฯ พาเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วเจอปัญหาทางเทคนิคโดยเฉพาะเรื่องราคา
เป็นเหตุให้นักลงทุนจำนวนมากพากันโวยวาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)