Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ98  
Positioning28  
ผู้จัดการรายวัน110  
ผู้จัดการรายสัปดาห์12  
PR News247  
Web Sites1  
Total 484  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารไทยพาณิชย์, บมจ.


นิตยสารผู้จัดการ (81 - 90 of 98 items)
2534 พร้อมรบ ธนาคารไทยพาณิชย์ทุ่มเงิน 168 ล้านบาทสร้างศูนย์ฝึกอบรมถาวรขึ้นที่ชลบุรี และทุ่มอีกร่วม 50 ล้านบาทเพื่อปรับปรุงตกแต่งสาขาใหม่ทั่วประเทศ ความหมายคงไม่ได้อยู่ที่ธนาคารแห่งนี้ได้กลายเป็นธนาคารแห่งแรก ที่มีศูนย์ฝึกอบรมถาวรที่ใหญ่พอๆ กับโรงแรมชั้นหนึ่ง หรือเกิดมีสีสันใหม่น่าใช้น่าลองในอาคารสถานที่ของสาขาขึ้นพร้อมๆ กันทั่วประเทศ แต่จะมีอะไรอีกหละที่ให้ความหมายถึงกลยุทธ์และเป้าหมายที่ลึกลงไป(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2532)
หลังฉากไทยพาณิชย์ SOFTWARE ให้ CITY BANK พิธีลงนามในโครงการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี ระบบซอฟท์แวร์เอทีเอ็มของไทยพาณิชย์กับซิตี้แบงก์ เมื่อ 13 กันยายนที่ผ่านมาจัดเป็นความร่วมมือด้านเทคโนโลยีครั้งแรก ที่ธนาคารไทยพาณิชย์มีกับธนาคารต่างชาติ(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
ศิริชัย บูลกุล ไม่มีวันที่จะยอมจำนน ดูเหมือนจะมีคนเป็นจำนวนมากอยากจะให้มาบุญครองเซ็นเตอร์กลายเป็นอนุสรณ์ของศิริชัย บูลกุล ไปจริง ๆ อย่างน้อยที่สุดก็คงจะเป็นบรรดาเจ้าหนี้ที่ร่วม "สามัคคีบีฑา" เพื่อขจัดศิริชัยให้พ้นไปจากวงจรของมาบุญครองเสียที(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
เมื่อสนอง ตู้จินดา ปะทะ ศิริชัย บูลกุล ใคร ๆ ก็รู้จักสนอง ตู้จินดาในฐานะนักกฎหมายนักธุรกิจมือเอกของเมืองไทย วันนั้น (4 พ.ย. 2530) สนองรับหน้าที่จากเจ้าหนี้คือธนาคารไทยพาณิชย์ให้เป็นผู้จัดการขายหุ้นจำนวน 3,787,465 หุ้นของบริษัทเครือข่ายมาบุญครอง 5 บริษัท(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ไทยพาณิชย์ปรับปรุงโครงสร้างใหม่ แบ่งลูกค้าเป็น 5 สาย 27 ก.ค. 30 - ธนาคารไทยพาณิชย์ปรับปรุงการจัดองค์กรใหม่ โดยแบ่งกลุ่มลูกค้าออกเป็น 5 กลุ่ม คือ(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2530)
สยามกัมมาจลกับสยามซิตี้แบงก์ 67 ปีในอดีตเหมือนความฝันวันวาน คำตอบในปัจจุบันสำหรับบางคำถาม หาได้จากอดีต บางทีเรื่องมากมายในปัจจุบันที่ทำเอาวุ่นวายสับสน เมื่อย้อนอดีตแล้วก็พอจะมองภาพกระจะ ๆ บางภาพได้(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
สลากออมสิน MANIA "ธรรมดาเราออกสลากเป็นงวด งวดหนึ่งมี 33 หมวด อักษรไทย ตัวอ่านยากๆ อย่าง ฆ ซ ญ…อะไรพวกนี้เราไม่ใช้ ก่อนที่มันจะบูมงวดหนึ่งๆ กว่าจะขายหมดใช้เวลาปีกว่า(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2530)
ไม่อยากเห็นรัฐบาลขอให้ธนาคารพาณิชย์ไปช่วยคนเพียงกลุ่มเดียว ในการให้สินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชย์ในบ้านเราสำหรับโครงการใหญ่ๆ จะมีอยู่ 2 ลักษณะคืออย่างแรกเป็นการพิจารณาให้สินเชื่อไปตามปกติ โดยถือหลักเกณฑ์ในเรื่องความเสี่ยงทางธุรกิจ คือเป็นการให้สินเชื่อในโครงการที่เห็นว่าน่าจะเกิดขึ้นได้ในประเทศของเรา แต่ถ้ามันมีปัญหาขึ้นในวันข้างหน้าก็ต้องยอมรับว่านี่คือความเสี่ยง ก็ต้องเข้าไปแก้ไข(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
อนาคตอุตสาหกรรมน้ำตาล ปล่อยให้ตาย ก็ไม่ได้ จะเลี้ยงก็ยากแสนเข็ญ ขณะที่ "ผู้จัดการ" ฉบับนี้ออกวางตลาด การกำหนดราคาอ้อยเบื้องต้นโดยสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาล (กอน.) ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแทนชาวไร่อ้อย ตัวแทนโรงงานน้ำตาล ผู้ส่งออก และตัวแทนจากภาครัฐบาล คงสามารถตกลงกันได้แล้วว่าราคาควรจะเป็นเท่าไหร่ในภาคฤดูการผลิตน้ำตาล 2528/2529(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พยัคฆ์หนุ่มลำพอง" แห่งค่ายบ้านโป่ง ที่กลายเป็นเสือลำบาก เพราะเครดิตดีเกินไป วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ กลายเป็นเซียนอายุเยาว์ที่สุดในวงการน้ำตาล เมื่อเขาสามารถทำกำไรให้กิจการที่ตายแล้วอย่างโรงงานน้ำตาล 13 ในปี 2523 และกลายเป็นนักธุรกิจน้ำตาลที่มีเครดิตดีที่สุดในสายตาของธนาคารพาณิชย์(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us