ยกเอทีเอ็มไปไว้ที่บ้าน สูตรผสมลงตัวของไทยพาณิชย์กับคอมไลน์
เชื่อหรือไม่ว่า เครื่องเอทีเอ็มของธนาคารที่ให้บริการอยู่ทุกวันนี้ กำลังจะถูกยกไปให้บริการถึงบ้าน!! แต่ไม่ใช่ตู้เอทีเอ็มขนาดใหญ่ ที่เห็นคุ้นหน้าคุ้นตาอยู่ตามหน้าธนาคารต่างๆ
หรือห้างสรรพสินค้า แต่กลับเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) เครื่องเล็กๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
รถท่วมออฟฟิค เรื่องปวดหัวของลูกจ้างกับเจ้านาย
เมื่อคุณจะเริ่มงานใหม่กับบริษัทใด อย่าลืมถามเจ้านายของคุณว่า บริษัทมีที่จอดรถให้หรือเปล่า
ถ้าไม่มีต้องไปหาที่เช่าจอดรถได้จากที่ไหน และที่สำคัญใครเป็นคนจ่ายเงินจำนวนนี้ ซักให้ละเอียดเชียวนะ ไม่เช่นนั้นแล้วมันจะทำให้คุณปวดหัวกับการทำงานที่ใหม่ไม่น้อยเชียวล่ะ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
เวิลด์เทรดระเบิดเวลาลูกใหม่ของไทยพาณิชย์
เมื่อธนาคารไทยพาณิชย์แอ่นอกเข้ามาเป็นผู้อัดฉีดเงินครั้งใหญ่ถึง 4,000 ล้านบาทแทนธนาคารศรีนคร ให้กับโครงการเวิลด์เทรดทาวเวอร์ โครงการเจ้าปัญหาที่ล่าช้ามากว่า 7 ปี นับเป็นจุดหัวเลี้ยวหัวต่อครั้งสำคัญ ซึ่งดูแล้วอาจจะทำให้โครงการเดินต่อด้วยความแข็งแกร่งขึ้น แต่เชื่อเถอะยังมีปัญหา ที่ต้องปวดหัวอีกหลายประการ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
แบงก์ไทยพาณิชย์ ยุคโอฬาร หาแหล่งผลประโยชน์ใหม่
แบงก์ไทยพาณิชย์ จัดเป้นแบงก์ขนาดใหญ่ อันดับสี่ของประเทศ รองจาก แบงกืกรุงเทพ
กรุงไทย และกสิกรไทย เป้นเวลาสองปีเต็มที่โอฬาร ไชยประวัติ เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่แบงก์ไทยพาณิชย์
กำไรสุทธิของแบงก์ปีที่แล้ว ต่ำที่สุดในกลุ่มยักษ์ใหญ่ นโยบายและการปรับโครงสร้างปรากฏในรูปของกิจการใหม่
ๆ เกิดขึ้นมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2537)
"จรัมพร โชติกเสถียร แจ้งเกิด "เอสซีบี ซีเคียวริตีส์"
หลังจากที่ บงล. เอกธำรงจับมือกับมอร์แกน เกรนเฟลกับธนาคารไทยพาณิชย์ทุ่มเงิน
930 ล้านบาทเพื่อเทคโอเวอร์บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ เอจีซีเดิมของกลุ่มเวสแพคแล้ว
ได้มีการเปลี่ยนชื่อเป็น "บงล. ไทยธำรง" เมื่อต้นมีนาคมปีนี้ โดยเป็นกรรมการผู้จัดการแฝดคนละฝา
คือ ยุทธ วรฉัตรธาร อดีตกรรมการผู้จัดการเอสซีเอฟและสหธนกิจไทยที่ถูกเพื่อนอย่างภควัต
โกวิทวัฒนพงศ์แห่งเอกธำรงดึงมาช่วยเป็นมืออาชีพบริหารธุรกิจด้านบริษัทเงินทุนไทยธำรงขณะที่จรัมพร
โชติกเสถียรนักบริหารรุ่นใหม่ที่ทำงานให้กับไทยพาณิชย์มา 12 ปี ก็เริ่มต้นบุกเบิกบริษัทหลักทรัพย์ใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2537)
"ดิโอลด์สยาม พลาซ่า บทพิสูจน์ฝีมือสยามพาณิชย์ฯ"
ดิโอลด์สยาม พลาซ่า ศูนย์การค้าล่าสุดของกรุงเทพมหานครเปิดตัวอย่างเป็นทางการไปแล้วเมื่อวันที่
30 เมษายนที่ผ่านมา แต่ภารกิจของบริษัทสยามพาณิชย์พัฒนาอุตสาหกรรม เจ้าของโครงการยังไม่เสร็จสิ้น
แม้ว่าจะสามารถขายพื้นที่จำนวน 300 กว่ายูนิตไปได้หมดแล้วก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2536)
ไทยพาณิชย์ยุค ดร.โอฬาร ปรับองค์กร รองรับนโยบายเดิม
ดร.โอฬาร ไชยประวัติ อดีตคนแบงก์ชาติที่หันมาเอาดีในธุรกิจธนาคารพาณิชย์
จนสามารถเติบโตขึ้นสู่จุดสูงสุดในธุรกิจนี้ได้ ด้วยการได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ของธนาคารไทยพาณิชย์
- ธนาคารพาณิชย์ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของประเทศ หลังจากที่ธารินทร์ นิมมานเหมินท์
อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่มีอันต้องลาออกไปรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"รีเทล แบงกิง หัวใจสำคัญอยู่ที่เทคโนโลยี"
แบงก์ไทยพาณิชย์เคยเป็นผู้จุดชนวนความตื่นตัวขึ้นในตลาดการเงินการธนาคารมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ
9 ปีที่แล้ว ในสมัยที่เป็นเจ้าแรกที่นำเอาเครื่องเอทีเอ็มเข้ามาในเมืองไทย
เพราะครั้งนั้นไม่เพียงแต่ทำให้ไทยพาณิชย์สามารถเพิ่มมาร์เกตแชร์ลูกค้าด้านรีเทลล์
แบงกิงถึง 3 เท่าภายใน 2 ปี ยังเป็นการเปิดแนวรบด้านใหม่ คือการแข่งขันด้านเทคโนโลยีระหว่างแบงก์พาณิชย์ด้วยกันเอง
เพื่อดึงฐานลูกค้าของตัวเองกลับมา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
"แบงก์ไทยพาณิชย์" ยุคโอฬารหาแหล่งผลประโยชน์
แบงก์ไทยพาณิชย์จัดเป็นแบงก์ขนาดใหญ่อันดับสี่ของประเทศ รองจากแบงก์กรุงเทพ
กรุงไทย และกสิกรไทย เป็นเวลาสองปีเต็ม ที่โอฬาร ไชยประวัติเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่แบงก์ไทยพาณิชย์
กำไรสุทธิของแบงก์ปีที่แล้วต่ำที่สุดในกลุ่มยักษ์ใหญ่ นโยบายและการปรับโครงสร้างปรากฏในรูปของกิจการใหม่ๆ
เกิดขึ้นมากมาย โดยแยกส่วนธุรกิจที่ไม่เกี่ยวกับแบงก์ออกไป และใช้กลยุทธ์ตั้งบริษัทใหม่ร่วมกับสี่พันธมิตรหลักที่มีความชำนาญในด้านที่แบงก์ไม่มี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
รางวัลเกียรติยศไทยพาณิชย์
พนักงานถือเป็นหัวใจของการแพ้ชนะในการแข่งขันด้านธุรกิจ จึงกลายเป็นธรรมเนียมปฏิบัติขององค์กรใหญ่ๆ
ที่สิ้นปีมาในแต่ละปีจะมีการให้รางวัลพนักงานที่ทำงานดีเด่นในรอบปีนั้นๆ
ถ้าเป็นพนักงานขายก็วัดคะแนนกันง่าย เพราะตัวเลขยอดขายมันฟ้อง แต่ถ้าเป็นงานประเภทอื่นก็วัดกันยากหน่อย
ขณะนี้ก็ยังไม่มีเกณฑ์มาตรฐานแน่นอนในการวัดคะแนน ที่จะเข้ากับธุรกิจประเภทใดประเภทหนึ่งโดยเฉพาะ
ฉะนั้นบางองค์กรความยุติธรรมในการให้คะแนนจะมีมากน้อยแค่ไหน จึงขึ้นอยู่กับความจริงใจของเถ้าแก่หรือลูกชายเถ้าแก่ของบริษัทนั้นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)