บีทูบี ทุกอย่างต้องเรียลไทม์
ปัญหาสำคัญของการค้าบนอินเทอร์เน็ตแบบบีทูบี คือ ระบบการชำระเงิน ธนาคารไทยพาณิชย์ได้พยายามพัฒนารูปแบบบริการใหม่ๆ หลายอย่างเพื่อแก้ไขปัญหานี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
อิทธิพลของ "ข้อมูล" กับโทรศัพท์มือถือยุคที่สาม
ในโลกของโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ 3 จะประสบความสำเร็จ หรือเป็นที่นิยมในแต่ละประเทศได้หรือไม่นั้น จะต้องขึ้นอยู่กับ content เป็นสำคัญ นี่คือคำตอบที่ว่า ทำไมโนเกียต้องจับมือกับสนุก.คอม เอไอเอสต้องร่วมมือกับแบงก์ไทยพาณิชย์ กสิกรไทยต้องจับมือกับแทค
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ธนาคารไทยยุคก่อนล่มสลาย (2505-2540)
ธนาคารกรุงเทพ กสิกรไทย ศรีนคร ไทยพาณิชย์ เป็นโมเดลตัวอย่างสำคัญในการเข้าใจความสำเร็จ ความล้มเหลว และการปรับตัวของธนาคารไทย เมื่อต้องเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 จนระบบธนาคารไทยแบบดั้งเดิมต้องสลายตัวลง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ การเริ่มต้นของรีเทลแบงกิ้ง
แม้ว่าบรรณวิทย์จะจากโลกนี้ไปแล้ว พร้อมๆ กับการปิดฉากตำนานความยิ่งใหญ่ของสยามมีเดีย แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น แต่ผลงานของเอทีเอ็มที่เขาเป็นผู้บุกเบิกขึ้นมา ก็ยังทรงพลังของตัวเองและจะทวีความสำคัญยิ่งขึ้น เพราะมันคือยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการที่แบงก์ก้าวไปสู่รีเทลแบงกิ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
เว็บแบงกิ้ง ธนาคาร 24 ชม. ไทยพาณิชย์
วันที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ธนาคารไทยพาณิชย์ตัดสินใจเปิดตัวบริการใหม่ซึ่งนับ
ว่าเป็นครั้งแรกที่ธนาคารไทยพาณิชย์จะก้าวไปสู่การเป็นเว็บแบงกิ้ง (web banking) อย่างเต็มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
E-commerce เรื่องของ new comer
บริการรับชำระเงินผ่านบัตรเครดิตสำหรับธุรกิจที่ซื้อขายสินค้าทางอินเตอร์เนต
หรือบริการ SCB Internet Payment Systems หรือ SIPS
เป็นบริการที่สามารถสะท้อนถึงการเติบโต และความเป็นไปของธุรกิจ
e-commerce ได้ในอีกแง่มุมหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
การเปลี่ยนแปลงที่ไทยพาณิชย์
1 กุมภาพันธ์ 2541 จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ดำรงตำแหน่งนายก กรรมการแทน ประจิตร
ยศสุนทร ซึ่งไปดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารเพียงตำแหน่งเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2542)
ไทยพาณิชย์-กรุงไทย สองความต่างบนเส้นทางอี-คอมเมิร์ซ
การบูมของอิเล็กทรอนิกส์ คอม เมิร์ซ หรือ อี-คอมเมิร์ซของเมืองไทยในระยะนี้
มีหลายปัจจัยด้วยกัน และที่มองข้ามไม่ได้เลยก็คือ บทบาทของธนาคารพาณิชย์ ซึ่งเกี่ยว
ข้องโดยตรงกับการชำระเงิน ซึ่งเป็นหนึ่งในกระบวนการของอี-คอมเมิร์ซ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2542)
ธนาคารไทยพาณิชย์ยัง O.K. ดีอยู่หรือ?
แผนแก้ไขปัญหาระบบสถาบันการเงินที่กระทรวงการคลังร่วมกับแบงก์ชาติประกาศออกมาเมื่อ
14 ส.ค.นั้นช่วยยืดลมหายใจให้แก่ธนาคารหลายแห่งที่ยังไม่มีความชัดเจนเรื่องการเพิ่มทุน
การแก้ไขปัญหาหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) รวมทั้งการดำรงเงินกองทุน
ธนาคารไทยพาณิชย์เป็นหนึ่งในอีกหลายธนาคารที่รับโบนัสพิเศษก้อนนี้จากรัฐบาล
เพราะมาตรการเรื่องการจัดชั้นเงินกองทุน ทำให้ธนาคารมีเม็ดเงินใช้ถึง 16,000
ล้านบาท สามารถรับภาระการขาดทุนได้ถึง 2 งวด!!
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2541)