บัตรเครดิตไทยพาณิชย์ ผู้รู้ใจลูกค้า
ประเภทบัตรเครดิตที่มีมากถึง 14 รูปแบบของ ธนาคารไทยพาณิชย์เพื่อตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์และ
ความต้องการ เป็นการพยายามเน้นความรู้ใจลูกค้า ไทยพาณิชย์เชื่อว่านี่คือข้อเสนอที่ดีในการดึงดูดลูกค้า
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2546)
Anytime Anywhere Any Device
หลายปีมานี้ ธนาคารแห่งนี้ได้พยายามเรียนรู้ และขยายบทบาทของตัวเองออกไป
ในโลกของอินเทอร์เน็ตอย่างกว้างขวาง และถึงเวลาแล้วที่พวกเขา
จำเป็นต้องนำสิ่งที่พวกเขาลงทุนลงแรงไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)
สยามโกลบอลแอคเซสเปลี่ยนมือ
ในที่สุดธนาคารไทยพาณิชย์ก็ปิดฉากธุรกิจไอเอสพี เพื่อหันมามุ่งเน้นธุรกิจหลักของธนาคารเพียงอย่างเดียว
ก่อนหน้านี้ธนาคารไทยพาณิชย์ต้อง เริ่มทยอยขายกิจการที่ไม่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของธนาคารออกไปจำนวนมาก
หลังจากที่ธนาคารแห่งนี้ต้องเผชิญหน้ากับความ จริง จากการไม่ประสบผลสำเร็จในการลงทุนในธุรกิจอื่นๆ
ธุรกิจโทรคมนาคม โทรทัศน์ วิทยุ ไอที
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
itv identity crisis
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม
การกาวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์
เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด
ในการที่จะ convergence
เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือ
เข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แต่ชินคอร์ป อาจลืมไปว่า
ธุรกิจโทรทัศน์
ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ แต่จำเป็นต้อง
เข้าใจประสบการณ์ใหม่
ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลา
ในการเรียนรู้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
ทีวีเสรีตายไปแล้ว
ปัญหาวิกฤติที่เกิดขึ้นกับไอทีวีในเวลานี้ ไมใช่วิกฤติ
ครั้งแรกที่เกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศน์ที่เกิดขึ้นมาจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
ในสมัยของรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุนที่ต้องการแก้ปัญหาในเรื่องที่สื่อทีวีถูกครอบงำ
จึงได้อนุมัติให้มีการเปิดประมูลสัมปทานโทรทัศน์ ที่ใช้คลื่นความถี่ยูเอชเอฟ
โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องมีผู้ถือหุ้น 10 รายขึ้นไป และห้ามถือหุ้นเกิน 10%
เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการเป็นสื่อเสรีที่จะไม่ถูกครอบงำโดยเอกชนรายใดรายหนึ่ง
ซึ่งเวลานั้นมีกลุ่มทุนสิ่งพิมพ์เข้าร่วมประมูลเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นไทยรัฐ
เดลินิวส์ ผู้จัดการ บางกอกโพสต์ เนชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
สามแบงก์ยักษ์ใหญ่กับการฝ่าวิกฤติเศรษฐกิจ
วิกฤติเศรษฐกิจปี 2540 ทำให้ธนาคารพาณิชย์แทบสูญพันธุ์
มีเพียงธนาคาร 3 แห่ง ที่เป็นไทยแท้ และบาดแผลจาก
การฝ่าฝันกระแสพายุเศรษฐกิจ นับว่าสร้างความเสียหายให้ไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
e-banking ไร้ขีดจำกัด ธ.ไทยพาณิชย์
หลังจากเอทีเอ็มแล้ว ธนาคารไทยพาณิชย์ ก็ยังไม่เคยรับประโยชน์จากเทคโนโลยีอื่นใด
มากเท่ากับการมาของอินเทอร์เน็ต ตลอดหลายปีมานี้ธนาคารจึงทุ่มเทอย่างหนักกับการลงทุนในเรื่องเหล่านี้
พยายาม ที่จะสร้างการเรียนรู้ในเรื่องของ การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างลึกซึ้ง นำไปสู่การสร้างบริการมากมายออกไป
สู่ตลาด และขยายบทบาทธุรกิจออกไป อย่างไร้ขีดจำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
การเรียนรู้ของ ธนาคารไทยพาณิชย์
การรับรู้ถึงการใช้ประโยชน์จาก อินเทอร์เน็ต ที่มาช่วยประหยัดต้นทุนให้กับธนาคารลงได้อย่างมหาศาล
และจากทรัพยากรที่มีอยู่เหลือเฟือ ทั้งในแง่ของ การวางระบบ การติดตั้งอุปกรณ์ เครือข่าย
ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเอง และทีมงาน สำหรับการหันเหเข้าสู่ web เทคโนโลยี ทำให้ธนาคารไทยพาณิชย์ไม่ได้จำกัดตัวเองอยู่กับบทบาทของบริการทางการเงิน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
มิติของเวลาและระยะทาง
สิ่งที่อินเทอร์เน็ตตอบสนองได้มากที่สุด ก็คือ เรื่องของเวลา และระยะทาง ที่ทำให้ธนาคาร ไม่มีข้อจำกัดในการนำเสนอสินค้าและบริการถึงมือลูกค้า ธนาคารไทยพาณิชย์ เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ใช้ข้อได้เปรียบนี้ เพื่อเข้าใกล้วิถึชีวิตของลูกค้ามากขี้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)