"แปซิฟิคปรับตัวใหม่หลังช่อง 5 ไม่ต่อสัญญา"
ความฝันของแปซิฟิคคอมมิวนิเคชั่น เริ่มสลายลงอีกครั้งเมื่อสถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง
5 ประกาศออกมาอย่างแจ่มชัดว่าต่อแต่นี้ไปจะสร้างภาพพจน์ของสถานีในการผลิตข่าว
การอ่านข่าวและขายเวลาโฆษณาด้วยตนเองโดยไม่ต้องพึ่งลมหายใจจากอีเอ็มนิวส์บริษัทในเครือแปซิฟิคคอมมิวนิเคชั่นอีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
โตแบบไม่มีความฝัน
จากมันสมองและสองมือของลูกผู้หญิงคนหนึ่งที่มีวิชาติดตัวเพียงแค่ใบประกาศนียบัตรชั้นมัธยมต้น แต่สามารถสร้างธุรกิจให้ขยายใหญ่โตครบวงจรในปัจจุบันได้ จึงเป็นเรื่องที่น่าจะได้รับการกล่าวถึง สุชาดี มณีวงศ์ เจ้าของเสียงเย็น ๆ เรียบง่ายของรายการกระจกหกด้าน ที่ฉายทางทีวีช่อง 7 ทุกวันช่วงค่ำ กำลังขยายอาณาจักรของตนเองให้ครบวงจรตามพลังในการทำงานที่เธอมีอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
ทีวีสตาร์วอร์
ศึกเคเบิลทีวีในช่วงเดือนที่ผ่านมาเริ่มดุเดือดเผ็ดมันเข้มงวดเข้ามาทุกที
แต่ละค่ายวิ่งหาสมาชิกกันอย่างหนัด อัดแคมเปญรายการส่งเสริมการขายยกใหญ่
คนในวงการบอกว่าศึกครั้งนี้มิใช่สู้กันแต่เฉพาะเคเบิลทีวีในเมืองไทยเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
ไทยสกายทีวี จุดเริ่มต้นอาณาจักรบันเทิง ของคีรี กาญจนพาสน์
หลังจากสร้างชื่อให้เป็นที่รู้จักกันในวงการเรียลเอสเตทและสามารถเข็นบริษัทธนายงเข้าไปปักหลักในตลาดหุ้นได้สำเร็จ
คีรี กาญจนพาสน์ กำลังจะเริ่มก้าวที่สองของการสร้างอาณาจักรธุรกิจในเมืองไทยด้วยธุรกิจเคเบิลทีวีในชื่อไทยสกายทีวี
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
ความอยู่รอดของเคลียร์วิว ?
วิลเลี่ยม แอล มอนสัน หนุ่มใหญ่วัย 40 ปีเศษ เดินทางเข้ามาเมืองไทยในปี 2525 เพื่อหาลู่ทางลงทุนในธุรกิจที่เขาถนัดแต่ยังไม่มีใครคิดจะทำให้เมืองไทยคือเคเบิลทีวีในนามบริษัทเคลียร์วิว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
สงครามอ่าวเปอร์เซียทำบุญหล่นทับบริษัทมะกัน
การเกิดสงครามในอ่าวเปอร์เซียไม่ใช่ว่าจะทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างพลอยย่ำแย่ไปเสียหมด เพราะสงครามได้ทำให้บุญหล่นทับบริษัทธุรกิจสหรัฐฯที่มีงบประมาณบริษัทน้อย ซึ่งงบโฆษณา ของบริษัท มีไม่เพียงพอที่จะซื้อเวลาสถานีโทรทัศน์อื่นที่มีราคาค่าเวลาสูง จึงหันมาเลือกเคเบิล นิวส์ เน็ทเวิร์ค (ซีเอ็นเอ็น) แทน โดยไม่รู้มาก่อนเลยว่าในภายหลังบริษัทจะได้ผลประโยชน์มหาศาลเพียงใด
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
สมชาย สุขกนิษฐ ผู้ขายข้อมูลผ่านจอทีวี
หากวันหนึ่งภาพและเสียงที่เคยดูเคยฟังจากจอโทรทัศน์ทุกเมื่อเชื่อวันเกิดหายวับไป
มีเพียงตัวอักษรปรากฏอยู่เต็มจอ แต่ก็ล้วนเป็นเรื่องของข้อมูลข่าวสารที่ควรรู้และอาจจะจำเป็นในหลายโอกาส
ก็คงจะเป็นเรื่องที่ดีอยู่บ้างสำหรับผู้ที่หาสาระและความบันเทิงอะไรไม่ได้มากนักจากรายการต่างๆ
ทางโทรทัศน์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
ธุรกิจ "เหนือโลก" ของ ทักษิณ ชินวัตร
ชั่วเวลาเพียง 2 ปีหลังจากอำลาชีวิตตำรวจ ทักษิณ ชินวัตรสามารถก้าวทะยานมาเป็นผู้นำทางด้านธุรกิจเทคโนโลยีการสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว
สินค้าของเขาหลายตัวคือภาพพจน์ของการแสวงหาและเริ่มต้นรูปแบบการสื่อสารใหม่
ๆ ในเมืองไทย แม้ห้วงเวลานี้โดยแท้จริงคือระยะผ่านแห่งการสะสมบารมีและสายสัมพันธ์
แต่ถ้าเขาผ่านขวากหนามช่วงนี้ไปได้ เขาอาจไปเร็วกว่าที่ทุกคนคาดคิด…..จับตาเขาไว้ให้ดี
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
เหนือฟ้ายังมีฟ้า เหนือ "นิวส์เน็ตเวิร์ค"ก็ยังมี "อี.เอ็ม.นิวส์"
อภิชัย ศักดิ์ชลาธร กรรมการผู้จัดการบริษัท นิวส์เน็ตเวิร์ค จำกัด ผู้บริหารเวลาโฆษณาช่วงข่าวของ
ททบ. 5 และรายการปกติทั้งสารคดี กีฬาภาพยนตร์ ฯลฯ ที่ออกอากาศทาง สทท. 11
รู้สึกสับสนมึนงงคนใกล้ชิดของเขาบอกว่า หลังจากวันที่ 19 เมษายนที่ผ่านมาความรู้สึกของเขาไม่ต่างจากสภาพของเคนจิ
มัตสุมูระ ผู้ท้าชิงชาวญี่ปุ่น ผู้หาญท้าชิงแชมป์จากเขาทราย แกแล็คซี่ ในการชกที่
10 ที่กรุงโตเกียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)