สงครามข่าวทีวีแค่เริ่มต้น
ตราสัญลักษณ์ รูปดวงตาสีม่วงที่ปรากฏโฉมอยู่ด้านล่างขวาของหน้าจอโทรทัศน์ พร้อมกับพิธีกรหนุ่มสาวหน้าใหม่
ด้านหลังของพวกเขาคือ ฉากใหม่ของสตูดิโอเก่า ที่ถูกแต่งแต้มเพิ่มสีสันใหม่ให้กับสถานีโทรทัศน์ช่อง
9 อันเป็นส่วนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ความเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
Media trend 2003 Growth & Chaos
ปรากฏการณ์ที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ในเวลานี้ คงไม่มีเหตุการณ์ครั้งไหน ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ได้มากเท่ากับสิ่งที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 และไอทีวีในเวลานี้ ที่สะท้อนถึงความเข้าใจพลังอำนาจ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
สงครามข่าวทีวีแค่เริ่มต้น
ตราสัญลักษณ์ รูปดวงตาสีม่วงที่ปรากฏโฉมอยู่ด้านล่างขวาของหน้าจอโทรทัศน์
พร้อมกับพิธีกรหนุ่มสาวหน้าใหม่ ด้านหลังของพวกเขาคือ ฉากใหม่ของสตูดิโอเก่า
ที่ถูกแต่งแต้มเพิ่มสีสันใหม่ให้กับสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อันเป็นส่วนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ความเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
ไตรภพ ลิมปพัทธ์ "Role Model" คนล่าสุด?
ไตรภพ ลิมปพัทธ์ เป็นพิธีกรคนเดียวในประวัติศาสตร์ ของวงการทีวีไทย ที่เป็นที่รู้จักของคนทุกวัย
ตั้งแต่ 7-8 ขวบ ไปจนถึงคนวัยชรา 70-80 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
บอร์น ออพเปอเรชั่น จำกัด
ผมไม่ "อยาก" ทำอะไรอีกต่อไปแล้ว แต่ที่วันนี้ผม "ต้องทำ" เพราะมันเป็นหน้าที่
เป็นคำพูดที่ไตรภพบอกใครๆ บ่อยที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2545)
AXN สถานีโทรทัศน์เพื่อคนใจหนุ่ม
AXN ได้ชื่อว่าเป็นสถานีโทรทัศน์ที่นำเสนอเรื่องราวการผจญภัยและรายการประเภท
Action เป็นการเฉพาะแห่งแรกและแห่งเดียวของเอเชีย โดยแพร่ภาพผ่านทั้งระบบดาวเทียมและเครือข่ายสถานีโทรทัศน์ในระบบ
cable ซึ่งได้เริ่มแพร่ภาพตั้งแต่เมื่อเดือนกันยายน 1997 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2544)
itv identity crisis
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม
การกาวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์
เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิด
ในการที่จะ convergence
เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือ
เข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แต่ชินคอร์ป อาจลืมไปว่า
ธุรกิจโทรทัศน์
ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ แต่จำเป็นต้อง
เข้าใจประสบการณ์ใหม่
ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลา
ในการเรียนรู้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
ทีวีเสรีตายไปแล้ว
ปัญหาวิกฤติที่เกิดขึ้นกับไอทีวีในเวลานี้ ไมใช่วิกฤติ
ครั้งแรกที่เกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศน์ที่เกิดขึ้นมาจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
ในสมัยของรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุนที่ต้องการแก้ปัญหาในเรื่องที่สื่อทีวีถูกครอบงำ
จึงได้อนุมัติให้มีการเปิดประมูลสัมปทานโทรทัศน์ ที่ใช้คลื่นความถี่ยูเอชเอฟ
โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องมีผู้ถือหุ้น 10 รายขึ้นไป และห้ามถือหุ้นเกิน 10%
เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการเป็นสื่อเสรีที่จะไม่ถูกครอบงำโดยเอกชนรายใดรายหนึ่ง
ซึ่งเวลานั้นมีกลุ่มทุนสิ่งพิมพ์เข้าร่วมประมูลเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นไทยรัฐ
เดลินิวส์ ผู้จัดการ บางกอกโพสต์ เนชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
เบื้องหลังไอทีวียุคไม่มีเนชั่น
ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา เข้ามาไอทีวีในช่วง หัวเลี้ยวหัวต่อที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง เพื่อจัดการความขัดแย้งของผู้ถือหุ้น ระหว่างธนาคารไทยพาณิชย์ กับเนชั่นกรุ๊ป
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
ITV ชินคอร์ป UBC และเนชั่นทีวี ทีวี (เสรี) ย่อมดีกว่าเคเบิลทีวี
19 มิถุนายน 2543 กองบรรณาธิการ "ไอทีวี" จับมือ อ.ส.ม.ท. ช่อง 11 ทดลองออก
อากาศระบบดิจิตอล พัฒนาดึงอินเทอร์เน็ตลงทีวี รูปแบบอินเตอร์แอคทีฟ ปรับปรุงเว็บไซต์
ดูข่าวจากจอคอมพิวเตอร์ เพิ่มรายการข่าวมากกว่า 70% อาศัยเทคโนโลยีชินคอร์ป
หวังราคาหุ้นพุ่งหลังเข้าตลาด …
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)