34 ปี ช่อง 3
ลำดับเหตุการณ์ 34 ปี ของช่อง 3
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Family business
ในบรรดาสถานีโทรทัศน์ทั้ง 6 ช่อง ช่อง 3 เป็นแห่งเดียวที่มีความเป็น "ธุรกิจครอบครัว" มากที่สุด แม้ว่าความเป็นธุรกิจครอบครัวจะทำให้ช่อง 3 ผ่านพ้นวิกฤติมาได้ แต่ก็อาจถึงเวลาต้องทบทวน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ผลงานชิ้นแรกใน ITV
นับแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นไป ผังใหม่ไอทีวีจะถูกนำมาใช้ เป็นผังที่ได้รับการจัดโดยไตรภพ
ลิมปพัทธ์ ผู้ถือหุ้น 10% และรั้งตำแหน่งผู้บริหารไอทีวี เป็นตำแหน่งที่นิวัตน์ธำรง
บุญทรง ไพศาล ประธานกรรมการบริหาร บริษัทไอทีวี บอกว่าอยู่ในวาระพิจารณาของบอร์ดไอทีวี
แต่ที่แน่ๆ เป็นตำแหน่ง "ผู้บริหารระดับ สูง"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
มาดใหม่ช่อง 9
สำหรับคอเพลงลูกทุ่ง และรายการประเภทแม่บ้านของสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.
อาจต้องหงุดหงิดใจ เพราะตั้งแต่วันที่ 19 มกราคมที่ผ่านมา รายการที่ชื่นชอบได้ถูกถอดออกไป
แล้วกลับมีรายการที่ว่าด้วยเรื่องหนักๆ ประเภทมีแต่ตัวเลขและการเงินเข้ามาเสียบแทน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
ไตรภพ ลิมปพัทธ์ "Role Model"
ข่าวไอทีวีจับมือไตรภพ ลิมปพัทธ์และกันตนากรุ๊ป 2 ยักษ์ใหญ่ทางด้านเกมโชว์และละคร
เป็น Strategic Partner ที่เพิ่มศักยภาพให้กับสถานี นอกเหนือจากจุดแข็งด้านรายการข่าว
นับว่าเป็นการขับเคลื่อนกลยุทธ์ทางการตลาดที่สำคัญในวงการโทรทัศน์เมืองไทยเลยทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
ITV เขย่าองค์กรอีกรอบ
ถึงแม้ว่าไอทีวีจะพยายามอย่างหนักในการปรับเปลี่ยนบุคลิก รูปแบบ เนื้อหา และผังรายการให้สอดคล้องกับบุคลิกของการเป็นทีวีเพื่อคนรุ่นใหม่ ภายใต้นิยามว่า I Generation ด้วยคอนเซ็ปต์ที่ฟังดูร้อนแรง Speed & Spice
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
โฉมใหม่วงการทีวีไทย
ในยุคที่ข้อมูลข่าวสารเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิต สื่อโทรทัศน์ซึ่งถือว่าเป็นสื่อที่ใกล้ตัวคนไทยในทุกระดับ
ทั้งเพื่อความรู้ และความบันเทิง กำลังก้าวสู่ยุคของการเปลี่ยนแปลง สถานีโทรทัศน์ต่างๆ กำลังปรับปรุงผังรายการ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ชมที่ต้องการบริโภคข่าวสารมากขึ้น ทั้งในแง่คุณภาพและปริมาณ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
กว่าจะเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี
ปรากฏการณ์ที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ในเวลานี้ คงไม่มีเหตุการณ์ครั้งไหนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงได้มากเท่ากับสิ่งที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ช่อง
9 และไอทีวีในเวลานี้ ที่สะท้อนถึงความ เข้าใจพลังอำนาจ และทรัพย์สินที่แท้จริงของการเป็นสื่อโทรทัศน์
อย่างไรก็ตาม การสร้างรายการข่าวให้เป็นจริงทางธุรกิจยังเป็นโจทย์ ใหญ่ที่ยังต้องหาคำตอบกันต่อไป
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
ไอทีวีภาค 2ยุคชินคอร์ปครอง
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม การก้าวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดในการที่จะ
convergence เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือเข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
แต่ชินคอร์ปอาจลืมไปว่า ธุรกิจโทรทัศน์ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ
แต่จำเป็นต้องเข้าใจประสบการณ์ใหม่ ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลาในการเรียนรู้
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
UBC Inside ถึงเวลาต้องผลิตเอง
เพราะเป็นครั้งแรกที่ยูบีซี เคเบิลทีวี ต้องหันมาผลิต รายการท้องถิ่นขึ้นเป็นของตัวเอง งานนี้จึงไม่ธรรมดา ถึงแม้จะเป็นเรื่องปกติของการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมรายการใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเคเบิลทีวี ที่มีช่องรายการให้สมาชิกเลือกดูมากมายถึง 30 กว่าช่องด้วยแล้ว แต่ครั้งนี้ไม่เหมือนกับที่ผ่านมา เพราะเป็นครั้งแรกที่ยูบีซีลงมือผลิตรายการด้วย
ตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)