TDT ดิจิตอล สำหรับทุกบ้าน
เมื่อเริ่มต้นปี 2006 ก็เริ่มต้นยุคใหม่สำหรับระบบการแพร่ภาพโทรทัศน์ในสเปนอย่างเป็นจริงเป็นจัง คือได้มีการแพร่ภาพในระบบดิจิตอลเต็มรูปแบบในชื่อที่ว่า TDT : Television Digital Terrestre โดยมีกำหนดว่าจะยกเลิกการส่งสัญญาณภาพแบบเดิมหรือแบบอนาล็อกทั้งหมดภายในปี 2010
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
บ๊าย บาย บริสเบน
เมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา (8 พฤษภาคม 2548) ผมนั่งลุ้นหน้าจอโทรทัศน์ว่าใครจะถูกกำจัดออกในรายการเรียลลิตี้รายการหนึ่งที่ชื่อว่า 86 My Restaurant Rules
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
ทีวีดาวเทียมที่ยุโรป
ดาวเทียมได้รับการพัฒนาจนเป็นอุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งที่จำเป็นในครัวเรือน ที่เขียนอย่างนี้ไม่ได้จะบอกว่า ในแต่ละบ้านจะมีดาวเทียมขนาดสองสามตันซ่อนอยู่ แต่ผมกำลังจะพูดถึงเครื่องรีซีฟเวอร์หรือเครื่องรับสัญญาณ และจานดาวเทียมที่ติดอยู่บนหลังคาบ้าน เหล่านี้เป็นชุดอุปกรณ์หลักในการรับสัญญาณทีวีดาวเทียม
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
ค้นฅน "สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ"
ทันทีที่เรื่องราวชีวิตของจ๊ะเอ๋ เชิญยิ้มออกในรายการ "ฅนค้นฅน" ครั้งแรกทางช่อง 9 ก็ดูเหมือนว่า "เนื้อหาสาระ" ของรายการโดนใจคนดูกลุ่มใหญ่ทันที เป็นรายการที่เล่าเรื่องราวของมนุษย์อย่างมีชั้นเชิงในหลายมิติ โดยที่ "พิธีกร" อาจถูกวิพากษ์วิจารณ์บ้างในช่วงแรกๆ แต่นั่นไม่ใช่ประเด็น ทีวีบูรพายังเดินหน้าค้นฅนต่อไปในรูปแบบที่ไม่เหมือนรายการใด จนจะครบ 2 ปีเต็มในเดือนเมษายน 2548 นี้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
ยูบีซีกับวิถีทาง "Segmentation"
Segmentation สำคัญแค่ไหนในสายตาของยูบีซีในยามที่คู่ต่อสู้ในสังเวียนเข้มแข็งขึ้น ผลกระทบของการเซ็นสัญญาระหว่างผู้ประกอบการเคเบิลทีวีท้องถิ่นกับผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ชั้นนำของโลกหลายๆ ราย เพื่อรับสิทธิ์เป็นผู้เผยแพร่ภาพรายการได้เพิ่มขึ้นจากรายการเดิมๆ ที่มีอยู่ หรือแม้แต่การเซ็นสัญญาของสถานีโทรทัศน์บางแห่งกับผู้รับสัมปทานการถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลนัดสำคัญๆ โดยผู้ชมทางบ้านไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการชมเพิ่มเติม และการกำเนิดขึ้นของฟรีทีวีที่นับวันจะเพิ่มรายการที่น่าสนใจขึ้นเรื่อยๆ อาจจะเป็นแรงผลักดันที่ส่งผลให้ยูบีซีต้องออกมาแก้เกมการตลาดกันยกใหญ่ แม้จะเคยเป็นผู้ที่ผูกขาดตลาด มานานหลายปีแล้วก็ตามที
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
Newcomer
กลายเป็นธุรกิจเกิดใหม่ที่กำลังถูกจับตามอง สำหรับสถานีโทรทัศน์เกิดใหม่ที่ส่งสัญญาณผ่านดาวเทียมทั้ง 2 ช่อง คือ 11/1 และ 11/2 ช่อง 11/1 หรือ "11 news 1" เป็นของบริษัท อาร์.เอ็น.ที.เทเลวิชั่น เป็นผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ร่วมผลิตรายการข่าวโทรทัศน์ ผ่านดาวเทียมโดยตรงจากกรมประชาสัมพันธ์ โดยกลุ่มผู้จัดการทำหน้าที่เป็นผู้ผลิต "เนื้อหา" ซึ่งได้ใช้เงินลงทุนสร้างสตูดิโอไปแล้ว 200 ล้านบาท พร้อมกับจ้างทีมงาน 300 ชีวิต
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
Channel 3 New Episode
BEC > No. 67 เป็นเวลามากกว่า 3 ทศวรรษ ที่ตระกูลมาลีนนท์บุกเบิกสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จากธุรกิจที่มีสภาพเกือบล้มละลาย ให้กลายเป็นธุรกิจมีรายได้และผลกำไร จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นเป็นรายแรกของโทรทัศน์ไทย แม้กระทั่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการเงินไม่เพียงแต่จะทำให้บีอีซีเวิลด์ไม่เจ็บตัวเหมือนคนอื่นๆ ยังได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่กำเงินสดในมือมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ฮ่องกง content center
ในฐานะของผู้บุกเบิกรายการต่างประเทศ จนกลายเป็นเอกลักษณ์ของช่อง 3 แหล่งในการหาซื้อรายการเหล่านี้
ถือเป็นประวัติศาสตร์อย่างหนึ่งช่อง 3
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
บีอีซีเวิลด์ King of cash
อายุสัมปทานของสถานีโทรทัศน์สีช่อง 3 ยังเหลือเวลาอีก 16 ปี แต่กระนั้นก็ยังมีปัจจัยเสี่ยงจากนโยบายภาครัฐอยู่เสมอ
แต่ด้วยสไตล์การบริหารแบบอนุรักษนิยมของเจ้าของอย่างตระกูล "มาลีนนท์" ทำให้ฐานะการเงินยังแข็งแรง
และร่ำรวยในฐานะ King of cash
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ประชุม มาลีนนท์ นักลงทุนนอกกรอบช่อง 3
น้อยครั้งนักที่ประชุม มาลีนนท์ บุตรชายคนเล็กของประธานวิชัย มาลีนนท์ จะเปิดใจ
แต่เมื่อเขาพูดเกี่ยวกับแนวคิดในเชิงรุกพื้นที่ธุรกิจใหม่ของช่อง 3 ว่าด้วยสื่อธุรกิจใหม่ๆ
รวมถึงโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ กลับเป็นเรื่องราวที่น่าติดตาม
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)