Kevin Dickie บทบาทที่ท้าทาย
ในฐานะรองประธานอาวุโสและผู้จัดการทั่วไป ประจำภูมิภาคเอชียตะวันออกเฉียงใต้ Discovery Networks Asia บทบาทหน้าที่ของ Kevin Dickie แน่นอนว่าผูกพันอยู่กับการรับผิดชอบดูแลงานทุกด้านที่เกี่ยวกับธุรกิจและกิจการของ Discovery ทั้งหมดในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
Discovery แสวงโอกาสบนจอทีวีไทย
หากโฆษณาเป็นปัจจัยในการหล่อเลี้ยงธุรกิจและเป็นแรงหนุนนำในการผลิตรายการและแพร่ภาพทางโทรทัศน์ การเปิดแนวรุกของบรรดาผู้ผลิตรายการผ่าน Cable และช่องสัญญาณดาวเทียมที่กำลังโหมประชาสัมพันธ์พลานุภาพของสื่อที่มีอยู่ในมือ ก็เป็นเรื่องที่น่าสนใจไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
"คุณปิด ลูกเปลี่ยน" เปิดชีวิต ปิดทีวี เพื่อลูกน้อย
ตั้งแต่โลกนี้มีโทรทัศน์ ดูเหมือนว่าทีวีจะกลายเป็นเพื่อนซี้กับคนเรามาทุกยุคสมัยโดยเฉพาะกับเด็ก บางบ้านปล่อยให้ทีวีทำหน้าที่ราว "พี่เลี้ยงเด็ก" โดยลืมไปว่า เบื้องหลังกล่องสี่เหลี่ยมที่เป็นดังหน้าต่างบานแรกที่นำเด็กๆ สู่โลกกว้าง ภายในยังเต็มไปด้วยอวิชชา อคติ และกิเลส ซึ่งลูกน้อยไม่ควรที่จะต้องเผชิญกับ "ปิศาจร้าย" เหล่านี้ตามลำพัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
หลังบ้าน "คน" ค้นคน
เช็คเป็นคนที่ให้ความสำคัญกับหุ้นส่วนและเพื่อนร่วมงานอย่างมาก เพราะเขาตระหนักดีถึงความทุ่มเท เสียสละ และอดทนของคนกลุ่มที่ร่วมลง "เรือลำเดียวกัน" และช่วยกันออกแรงแจวจนผ่านมาถึงจุดที่มีทุกวันนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
สุทธิพงษ์ ธรรมวุฒิ คนสร้าง Role Model
ไม่บ่อยนักที่ Role Model ของ "ผู้จัดการ" จะเป็นเจ้าของธุรกิจที่มีพนักงานทั้งสิ้นเพียงร้อยเศษๆ มีผลประกอบการประจำปีแค่เกือบร้อยล้านบาท แม้เขาคนนี้จะไม่ใช่กัปตันที่ประจำการบน "เรือธง" ลำยักษ์ ที่ชื่อบริษัทถูกตบท้ายด้วยคำว่า "(มหาชน)" เหมือน Role Model อีก 5 คน แต่เขาก็เป็น "คนคัดท้าย" เรือลำน้อยๆ ที่ตระหนักดีว่า "แม่น้ำ" ย่อมมีอายุยืนยาวและสำคัญมากกว่า "คน"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2550)
True Visions คอนเทนต์ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง
หลังความสงสัยเมื่อครั้งศุภชัย เจียรวนนท์ ยอมทุ่มทุนและเป็นหนี้หลายหมื่นล้านบาท เพื่อเป็นเจ้าของทรูวิชั่นส์ ปีกว่าที่ผ่านมากลยุทธ์ต่างๆ บนแนวคิด "convergence" แสดงให้เห็นแล้วว่า ศุภชัยมองเห็นว่า "ขุมคอนเทนต์" แห่งนี้เปรียบได้ราวกับ "บ่อน้ำมัน" ที่จะได้ขุด "น้ำมัน" ขึ้นมาปล่อยผ่าน "ท่อส่ง" เข้าสู่ครัวเรือน ซึ่งทรูฯ ได้วางโครงข่ายไว้พร้อมแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2550)
และแล้วก็มี "true" นำหน้า
"การทำ convergence ไม่ได้ทำง่ายๆ แค่เพียงควบรวมกิจการ หรือเปลี่ยนชื่อใหม่ที่ดูสวยหรูเพียงเท่านั้น เพราะตั้งแต่กลางปีที่แล้วจนถึงวันนี้ ทรูค่อนข้างชัดเจนว่าอย่างไรก็จะนำเสนอภาพของการรวมเข้าด้วยกันของเทคโนโลยีต่อลูกค้าและผู้ใช้งาน การเปลี่ยนชื่อเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่จับต้องได้ และพยายามจะบอกว่าต่อไปนี้ยูบีซี จะให้อะไรมากกว่าที่เคยให้และเคยเป็นก่อนหน้านี้"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2550)
Mekhong Community TV
แม้จะมีปัญหาส่วนตัวที่เคลียร์ยังไม่จบระหว่าง บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งสั่งให้ปรับผังรายการพร้อมเรียกเงินชดเชยผลประโยชน์ตอบแทนย้อนหลังจากไอทีวีด้วยวงเงินที่สูงกว่า 76,000 ล้านบาทก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
ไอทีวี : จุดเริ่มต้น-เปลี่ยนแปลง ที่มักมาหลังวิกฤต
เจตนารมณ์ในการจัดตั้งสถานีโทรทัศน์ไอทีวี มีที่มาจากวิกฤติการณ์ "พฤษภาทมิฬ" ในปี 2535 ซึ่งผู้คนในสังคมถูกปิดหูปิดตาจากสื่อของรัฐ ทั้งวิทยุและโทรทัศน์ ทำให้ไม่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ที่แท้จริงบนถนนราชดำเนินที่รุนแรงถึงขั้นมีผู้คนบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)