FM 95 ลูกทุ่งมหานคร ไพรม์ไทม์หลังเที่ยงคืน
การเริ่มต้นของคลื่น FM 95 ลูกทุ่งมหานคร ของ บมจ.อสมท จะถูกตั้งคำถามเสมอว่า ทำไมทำสถานีลูกทุ่งเหมือนรายเดิมที่เคยทำอยู่ น่าจะมีการคิดใหม่ทำใหม่ไม่ใช่เดินตามรอยเก่าอย่างนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
วิทยา ศุภพรโอภาส ผมชอบถูกบันทึก
วิทยา ศุภพรโอภาส มีเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนใครในการจัดรายการวิทยุ อย่างแรกก็คือ "เสียงแหบ" จนกลายเป็นฉายาที่คนในวงการเพลงเรียกเขาว่า เสี่ยแหบ ซึ่งเขาก็ไม่ได้เดือดเนื้อร้อนใจแต่อย่างใดเพราะเป็นอย่างนั้นจริงๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
พลังลูกทุ่ง
เพลงลูกทุ่งที่เปิดขึ้นครั้งแรกบนหน้าปัดวิทยุ FM เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 10 ปีก่อน เปรียบเหมือนเสียงเพลงแห่งความหวังที่ขับขาน ก่อให้เกิดพลังในการพังทลายแนวกั้นและความเชื่อเดิมๆ ที่ว่า เพลงลูกทุ่งไม่สามารถยืนอยู่ในคลื่น FM ที่เกิดขึ้นในอดีตลงอย่างราบคาบ สร้างบริบทใหม่ให้กับเพลงลูกทุ่งที่กลายเป็นทั้งขุมทรัพย์และเครื่องมือการตลาดอันทรงพลัง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
เชษฐโชติศักดิ์ รุ่นที่ 2
25 ปีที่ผ่านมาของอาร์เอส เป็นช่วงการนำของเฮียจั๊วและเฮียฮ้อ วันนี้คนรุ่นที่ 2 ของตระกูลเริ่มเข้ามามีบทบาทในองค์กรแห่งนี้มากขึ้น เดือนสิงหาคมที่ผ่านมา บริษัท สกาย-ไฮ เน็ตเวิร์ค ธุรกิจวิทยุในเครืออาร์เอสมีการปรับเปลี่ยนผู้บริหาร ผลจากการเปลี่ยนแปลงครั้งนั้นทำให้ได้กรรมการผู้จัดการคนใหม่เป็นชายหนุ่มวัย 31 ปี ที่ชื่อคมสันต์ เชษฐโชติศักดิ์ ทายาทคนโตของเกรียงไกร เชษฐโชติศักดิ์ หรือเฮียจั๊ว ผู้ก่อตั้งอาร์เอส
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
RadioMan
RadioMan เป็นเพียงหนึ่งซอฟต์แวร์ในตลาดที่พัฒนาออกมารองรับธุรกิจการออกอากาศทางสถานีวิทยุ โดย RadioMan เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท JUTEL สัญชาติฟินแลนด์ที่ประสบความสำเร็จในการทำตลาดเป็นอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
ดีเจเสียงใสไฮเทคยิ่งขึ้น
ภาพดีเจที่มือยังพัลวันกับการใช้ซีดีหรือเทปเพื่อเปิดเพลงให้ผู้ฟังทางบ้านได้ฟัง กลายเป็นภาพเก่าเก็บที่จะเห็นได้ยากยิ่งขึ้นนับจากนี้ เมื่อเทคโนโลยีได้บุกเข้าไปถึงห้องกระจายเสียงของสถานีวิทยุกันแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
Satellite Radio ปฏิวัติวงการวิทยุอเมริกา
ลองนึกเอาว่า ถ้าวันหนึ่งเปิดวิทยุฟังเพลงที่ชื่นชอบ แบบไม่มีโฆษณาเลย... วันนั้นคงเป็นวันที่น่าภิรมย์ยิ่งนัก... ในอเมริกามีแล้วค่ะวิทยุที่ปราศจากโฆษณา หรือที่นี่เขาเรียกว่า "Satellite Radio" แต่ไม่ฟรีนะคะไม่เหมือนกับวิทยุระบบ analog AM/FM ปกติที่เราฟังอยู่ทุกวันนี้ตามเครื่องเล่นวิทยุทั่วไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
Visual radio ปฏิวัติ "วิทยุ"
นอกจากจะเป็นปีที่อาร์เอสต้องประสบกับภาวะผันผวนของรายได้แล้ว ยังเป็นปีที่ค่ายเพลงอาร์เอสต้องหันมาเอาจริงเอาจังกับเรื่อง "ไอที" มาใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของดิจิตอล
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
มือการตลาด คลื่นข่าวผสมบันเทิง
นอกเหนือจากวนิดา วรรณศิริกุล ที่โยกจากคลิคเรดิโอมาร่วมมือกับกลุ่มไอเอ็นเอ็น
ที่มีสนธิญาณ หนูแกว และสมชาย แสวงการ เป็น 2 หัวเรือใหญ่ วาสนพงศ์ วิชัยยะ เป็นอีกหนึ่งมืออาชีพที่คร่ำหวอดในแวดวงวิทยุ เข้ามาเป็นหนึ่งในทีมผู้บริหาร
ที่เป็นแกนนำบริหารคลื่นวิทยุทั้ง 3 คลื่น อันเกิดจากการร่วมมือระหว่างวนิดา
วรรณศิริกุล และ กลุ่มไอเอ็นเอ็น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา "ผมเป็นแค่นักคิดคนหนึ่งเท่านั้น"
ปีย์ มาลากุล ณ อยุธยา ยืนยันกับผู้ใกล้ชิดเสมอว่า "การเมือง" เป็นเรื่อง ที่เขาไม่เคยคิด และไม่อยากยุ่งแต่ดูเหมือนว่าสิ่งที่เขากำลังทำนั้น เกี่ยวข้องกับตัวแปรเรื่องการเมืองอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)