"เหตระกูล" ชื่อแห่งตำนาน "เดลินิวส์"
สมบัติมีค่าชิ้นสำคัญที่แสง เหตระกูลรักมากๆ คือกิจการหนังสือพิมพ์ "เดลินิวส์"ถือเป็น CASH COW ที่ผลิตน้ำนมศักดิ์สิทธ์ป้อนลูกหลานเหตระกูลจนกระทั่งมีธุรกิจเติบใหญ่ถึงทุกวันนี้ ท่ามกลางทศวรรษใหม่แห่งการเผชิญหน้ากันของพลังเก่าและพลังใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
การตลาดและการผลิต ก้าวสำคัญของ "เวียดนามนิวส์"
โครงการลงทุนของชาวต่างชาติในเวียดนาม ในช่วงปี 2531 จนถึงปัจจุบันมีโครงการลงทุนทั้งสิ้น
891 โครงการรวมมูลค่ารวมมูลค่าการลงทุนประมาณ 9,352 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือสูงประมาณ
2 แสนกว่าล้านบาท ประเทศผู้ที่ไปลงทุนในเวียดนามใน 15 อันดับแรกได้แก่ ไต้หวัน
ฮ่องกง เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
สวิตเซอร์แลนด์ ไทย สหรัฐอเมริกา และรัสเซีย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2537)
"สื่อสิ่งพิมพ์ในเวียดนาม ต้องมองการณ์ไกลและอดทน"
ถึงรัฐบาลจะยังคุมเข้มแต่กระแสทุนนิยมผนวกกับความสนใจของคนที่จะรับรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อการตัดสินใจทางธุรกิจ
ทำให้ธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ในเวียดนามเป็นที่สนใจของนักลงทุนต่างชาติ และได้ขยายตัวอย่างไม่หยุดยั้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งพิมพ์ภาษาอังกฤษที่มักจะหยุดสายตานักท่องเที่ยว นักธุรกิจและคนเวียดนามได้ไม่น้อย แต่คนที่มาก่อนในวงการยังมองว่าเป็นการลงทุนเพื่อผลระยะยาวมากกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
"ไม ชาน สู้ไม่ถอย"
ไม ชานหัวเราะเบา ๆ เมื่อหวนนึกถึงบทบู๊ของเธอตอนที่ยังเป็นผู้จัดการดูแลอาคารแห่งหนึ่งในย่านที่เสื่อมโทรมที่สุดของนิวยอร์ค
สาวไดนาโมสูง 1 เมตรครึ่งคนนี้เคยเผชิญหน้ากับแก๊งค์ขายยาเสพติด และผู้เช่าอาคารในเขตบร็องซ์ที่เธอดูแลอยู่ซึ่งมีพฤติกรรมเลวร้ายมาก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2537)
40 ปีของ "ซิงเสียนเยอะเป้า"
หนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทยนั้นมีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ 87 ปีที่แล้ว เป็นการเกิดขึ้น
จากจุดประสงค์ทางการเมืองอย่างชัดเจน หนังสือพิมพ์จีนฉบับแรกในพ.ศ. 2446
คือ "ฮั่งเก้งรายวัน" เป็นกระบอกเสียงในหมู่คนจีนในประเทศไทยให้กับราชวงศ์แมนจู
ขณะนั้นเป็นช่วงเวลาสิบปีก่อนหน้าที่ราชวงศ์แมนจูจะถูกโค่นล้มลง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
พยัคฆ์ลำพอง
"เมื่อ 18 ปีที่แล้ว หนังสือพิมพ์รายวันภาษาอังกฤษฉบับที่สองของเมืองไทยได้ถือกำเนิดขึ้นในซื่อ
ว้อยซ์ ออฟ เดอะ เนชั่น คำถามที่ใครๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ไม่มีใครเสียใจกับการจากไปของเท่ห์ จงคดีกิจ
การลาออกจากตำแหน่งบรรณาธิการหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งฉบับใดของใครคนหนึ่งนั้นถือว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่เกิดขึ้นได้อยู่เสมอ
แต่การลาออกจากบางกอกโพสต์ของเท่ห์ จงคดีกิจ นั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ไพศาล ศรีจรัสจรรยา "ถ้าบก.ไม่ได้เป็นบอร์ด"
นักข่าวไทยที่มีผีไม้ลายมือลายมือ มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับกันในระดับสากลนั้น
มีอยู่นับตัวคนได้ คนแรกคือ เท่ห์ จงคดีกิจ อดีตบรรณาธิการบางกอกโพสต์ที่ย้ายค่ายมาอยู่เดอะ
เนชั่น คนที่สองคือ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
"คุณเท่ห์ไม่ได้ชั่วร้ายอย่างที่บางคนคิด"
"คุณสุทธิชัยพูดกับพวกเราว่า เวลาออกไปพูดข้างนอกไม่ให้พูดว่ามีการแตกแยกกันในเรื่องนี้
นักข่าวของเดอะ เนชั่น ผู้หนึ่งกล่าวกับ "ผู้จัดการ" ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นภายในกองบรรณาธิการของ
เดอะ เนชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)