กงสีฟิลิปส์ นักขายหลอดไฟมือทอง
ไม่ง่ายนักสำหรับการที่จะอธิบายให้ผู้บริหารชาวต่างประเทศ หรือคนที่ไม่เคยเรียนรู้
ฟังถึงบทบาทความสำคัญในระบบการค้าของไทย (จีน) ที่อาศัยความผูกพันแบบเครือญาติ
ซึ่งอาจไม่มีในทฤษฎีทางการตลาด โดยเฉพาะในสภาวะการตลาดแบบสมัยใหม่เช่นปัจจุบัน..
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
บางกอกแลมป์กับทังสยาม ผู้เติมช่องว่างตลาดให้ฟิลิปส์
บางคนกล่าวว่ากลุ่มผู้ค้าหลอดไฟในกงสีฟิลิปส์คือกลุ่มผู้ค้าผูกขาดในตลาดหลอดไฟ
เพราะไม่เพียงแต่จะเป็นตัวแทนจำหน่ายหลอดไฟของหลาย ๆ ยี่ห้อแล้ว ยังร่วมกันทำธุรกิจผลิตหลอดไฟเข้าแข่งขันในตลาดอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
แจน เดิร์ก ทิมเมอร์...บุรุษหลายสมญานาม
แจน เดิร์ก ทิมเมอร์ ประธานบริหารคนล่าสุดของฟิลิปส์เป็นลูกหม้อเก่าคนหนึ่งของ
ฟิลิปส์ เขาเกิดในครอบครัวคนทำขนมปังในหมู่บ้านแห่งหนึ่งของเนเธอร์แลนด์ หลังจบการศึกษาระดับไฮสคูลก็เข้าไปหาประสบการณ์ในโรงงานผลิตแยมแห่งหนึ่งและเข้าทำงานที่ฟิลิปส์ในปี
1952
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2533)
เบื้องหลังธรรมาขายสามชัยให้ธนสยาม
ในวัย 62 ปีวันนี้ ธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ แก่เกินไปที่จะบริหารกิจการจัดจำหน่ายเครื่องใช้ไฟฟ้า
ของบริษัทสามาชัยหรือไม่?
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)
กรณีศึกษา : ซิงเกอร์ TURN AROUND ใต้ร่มธงกสิกรไทย
จุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศาสตร์ธุรกิจไทยเกิดขึ้นเมื่อมีการตั้งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอย่างเป็นทางการในปี
2518 เพราะตลาดหลักทรัพย์ได้แสดงบทบาทเป็นแหล่งระดมทุนที่มีต้นทุนราคาถูก
แทนที่ธนาคารและแหล่งเงินกู้นอกระบบที่ต้องเสียดอกเบี้ยและมีความเสี่ยงสูง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2533)
เฮียกวง : พ่อค้าขายอะไหล่อิเล็กทรอนิกส์ใต้ดิน
เฮียกวงเดิมอยู่แถวคลอมถมเพิ่งจะมาอยู่ที่บ้านหม้อเมื่อ 6-7 ปีที่ผ่านมานี้เอง
ร้านเฮียกวงเป็นตึกแถวเล็ก ๆ ห้องเดียวที่รกรุงรังด้วยกล่องเปล่าคอมพิวเตอร์สารพัดยี่ห้อกองสุมกองโต
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2533)
เชียรช่วง กัลยาณมิตร "วันนี้เขาเป็น VENTURE CAPITALIST แล้ว"
เชียรช่วงเป็นคนไทยอีกคนหนึ่งที่เคยมีประสบการณ์อันยาวนานในการศึกษาและทำงานในสหรัฐอเมริกา
แล้วหวนกลับมาบ้านเกิดเมืองนอนในฐานะมันสมองคนหนึ่งของธุรกิจเอกชนไทย เขาจบการศึกษาระดับปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยพอร์ตแลนด์โอเรกอน
ในสาขาวิศวกรรมวางระบบและบริหารงานผลิต
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
เลิกใช้สาร CFCs ใน 10 ปีข้างหน้าผู้ผลิตเครื่องเย็นสะเทือนหนัก
ภายใน 10 ปีข้างหน้า บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ผลิต CFCs จะเลิกผลิตหมดทั่วโลก
ด้วยเหตุผลด้านสิ่งแวดล้อม ผู้ผลิตตู้เย็น แอร์ คอมเพรสเซอร์ และชิ้นส่วนในบ้านเรา
เตรียมตัวลงทุนใหม่อีกครั้งหนึ่ง เพื่อปรับอุปกรณ์การผลิตให้เข้ากับปฏิกิริยาทางเคมีของสาร
HFC-134 A ที่จะมาแทน CFC-12 ที่ใช้อย่างแพร่หลายในแอร์และตู้เย็น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
การปฏิวัติสารทำความเย็น
โทมัส มิดต์เล่ย์ (THOMAS MIDGLEY) แห่งบริษัท เยเนอราล มอเตอร์ (G.M.)
เมื่อปี 1924 ได้ค้นพบสาร CHLOROFLUOROCARBONS (CFCs) มีคุณสมบัติทางเคมีในการเป็นตัวทำละลาย
อีก 5 ปีต่อมา นักวิทยาศาสตร์ของบริษัทเคมีภัณฑ์ยักษ์ใหญ่ของโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
เค ซี อี เมล็ดพันธุ์ตัวใหม่ตลาดหุ้นไทย
ควงเจริญ อีเลคโทรนิคส์เป็นบริษัทเล็ก ๆ ที่เพิ่งเข้าเป็นบริษัทรับอนุญาตในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
เมื่อ 3 เดือนที่ผ่านมา แต่กระนั้นราคาหุ้นของบริษัทอิเล็กทรอนิกส์แห่งนี้ไม่เล็กตามขนาดบริษัทเลย
กลับมีราคาพุ่งขึ้นดีวันดีคืน ทำกำไรให้นายหน้าค้าหุ้นและนักเก็งกำไรระยะสั้นไปแล้วตาม
ๆ กัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)