"ธุรกิจไฮเทคฯ ผู้บุกเบิกแห่งเอเซีย"
ยักษ์ใหญ่ด้านโทรคมนาคมอย่างนิปปอน เทเลกราฟ แอนด์ เทเลโฟน (เอ็นทีที)
ต้องเสียเงิน 1 ล้านดอลลาร์ และเวลาอีก 4 ปีสำหรับการวิจัย และพัฒนาวัสดุที่มีขนาดเล็กมาก
ๆ แค่ 2 ไมครอน หรือเท่ากับเศษ 1 ส่วน 50 ของความหนาของเส้นผมมนุษย์เท่านั้น
ถ้าวางไว้บนฝ่ามือ ก็อาจจะคิดว่าเป็นผงธุลีหรือตัวไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2537)
"เทคโนโลยีแห่งอนาคตกาล"
มีไม่กี่ประเทศที่จะหลงไหลคลั่งไคล้ในมนต์ขลังของเทคโนโลยีแห่งอนาคตเท่ากับญี่ปุ่น
โดยถึงกับจัดตั้งสถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสถาบันเทคโนโลยีเพื่ออนาคตขึ้นมาในปี
1971 เพื่อคาดการณ์แนวโน้มเทคโนโลยีในอนาคตโดยเฉพาะ รายงานข้างล่างนี้เป็นผลการคาดการณ์ชิ้นที่
5 ที่จัดทำขึ้นในปีที่ผ่านมาโดยผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุ่นจำนวน 3,000 คน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2537)
"ความปั่นป่วนในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ญี่ปุ่น"
"อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่นกำลังประสบภาวะทรุดดิ่งอย่างหนักมาตั้งแต่ปีที่แล้ว
หลายบริษัทกำลังตกอยู่ในสภาวะคล้ายๆ กับยักษ์ใหญ่ไอบีเอ็มของสหรัฐฯ คือมีขนาดใหญ่เกินไป-เชื่องช้าเกินไป-ระมัดระวังมากเกินไป"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
ความฝันของซัมซุง
ถ้าคุณได้มีโอกาสเดินเข้าไปในครัวของคนเกาหลีที่กระจายกันอยู่ในทุก ๆ ส่วนของโลก คุณ จะเห็นผลิตภัณฑ์ของซัมซุงวางนิ่งอยู่ในนั้น
ปาร์ค ซุง วอน หนุ่มเกาหลีที่ใช้ชีวิตอยู่ในเมืองไทยมา 2 ปี พร้อมภรรยาและลูกอีก 2 คนต้องอพยพครอบครัวจากเมืองโซลมาอยู่กรุงเทพเพราะเขาได้รับมอบหมายจากบริษัทซันยองให้มาควบคุมงานก่อสร้างโครงการยักษ์โครงการหนึ่งที่เมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"กลยุทธ์ซัมซุง ค่อย ๆ รุกทีละขั้น"
"ญี่ปุ่นเข้าตลาดเมืองไทยมานานหลายสิบปี ซัมซุงเพิ่งเข้ามาได้ 4 ปีเท่านั้นเราจะรุกเข้าตลาดเมืองไทยอย่างค่อยเป็นค่อยไป" กวางซูคิม ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มบริษัทซัมซุงคอนซูเมอร์อีเล็กทรอนิคส์ ที่รับผิดชอบด้านการตลาดทั่วโลก กล่าวกับ "ผู้จัดการ" ถึงหนทางการเข้าเจาะตลาดเมืองไทยที่เนินเขาแห่งหนึ่งในกรุงโซล เกาหลีใต้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2535)
"ปีเตอร์+สราวุธ ยอมเสี่ยงเพื่อกอบกู้ SVI"
ปีเตอร์ รอสคัม กรรมการผู้จัดการคนใหม่ของบริษัทเซมิคอนดัคเตอร์ เวนเจอร์
อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (SVI) ประกาศกลางที่ประชุมบรรดาโบรกเกอร์ว่า "ผมจะไม่มานั่งตรงนี้
หากไม่มีความเชื่อว่าการถอดป้าย SP บริษัทเซมิฯ จะมีขึ้นในเร็ววันนี้"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
SVI : วันนี้ยังไม่เลวร้ายจนเกินไปนัก?!
ทำไมหุ้นอิเล็กทรอนิกส์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ จึงมีราคาลดลงมากมายถึงเพียงนี้?
แทบจะไม่ต้องคิดเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบเคียงกับดัชนีตลาดหลักทรัพย์ฯ ก็เห็นอยู่ชัด
ๆ ว่า ราคาร่วงลงไปถึงขนาดไหน !
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
ซัมซุง กรุ๊ป เตรียมผงาดติดอันดับ 1 ใน 10 ของโลก
แม้ ลี บยุง-ซุล ผู้ก่อตั้งกลุ่มบริษัทซัมซุงแห่งเกาหลีใต้จะเสียชีวิตไปแล้วถึง
3 ปี แต่หลักการบริหารงานที่เขาใช้สร้างกิจการจากธุรกิจขนาดใหญ่ยังดำรงอยู่ทุกวันนี้
ลี คุน-ฮี บุตรชายคนที่สามของเขาได้รับแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการของกลุ่มบริษัทแทน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
หลายทัศนะในสายตาของ ลี คุน-ฮี ประธานกรรมการซัมซุง-กรุ๊ป
นับแต่ตำแหน่งประธานกรรมการกลุ่มบริษัทซัมซุงในปี 1978 ลี คุน-ฮีไม่ได้เปิดตัวในวงการธุรกิจให้โดดเด่นอย่างผู้นำกลุ่มบริษัทอื่นๆในเกาหลี
และไม่ได้เลียนแบบแนวทางการบริหารที่ยึดการตัดสินใจของตนเองเป็นศูนย์กลางอย่างพ่อของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)