อุปกรณ์ประหยัดไฟทางอ้อม
ในอดีตหมู่บ้านจัดสรรมักนิยมนำเครื่องใช้ไฟฟ้ามาเป็นของแถมแก่ผู้ซื้อบ้านของแต่ละโครงการ แต่ปัจจุบันของกำนัลเหล่านี้เริ่มเปลี่ยนมาเป็นการวางระบบไฟฟ้าแบบประหยัดพลังงานทางอ้อมภายในบ้านมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
จาก FIN1 สู่ EDCO
ก่อนจะมาเป็นตั้งบริษัทที่ปรึกษาด้านพลังงาน วรุณ อัตถากร เคยมีชีวิตคลุกคลีอยู่ในแวดวงการเงินในฐานะวาณิชธนากรของสถาบันการเงินทั้งในและนอกประเทศหลายแห่ง แต่ที่บริษัทเงินทุนเอกธนกิจ หรือ FIN1 คือที่ที่ความคิดและความมุ่งมั่นที่จะผันตัวเองมาเป็นที่ปรึกษาด้านพลังงานของวรุณ เริ่มชัดเจนขึ้นอย่างเป็นรูปเป็นร่าง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
วิธีจัดการต้นทุนพลังงาน
ความพยายามที่จะนำของทุกอย่างจากกระบวนการผลิต วนกลับมาใช้ในรอบการผลิตครั้งต่อไป หรือหากมีเหลือพออาจจะแจกจ่ายต่อไปตามส่วนต่างๆ ในองค์กร เป็นวิธีการบริหารการใช้ทรัพยากรที่ EDCO ได้นำมาช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้าให้แก่ลูกค้าของบริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
ทางเลือกในยุคค่าไฟแพง
คำถามในใจของนักบริหารทุกคนขณะนี้คือ จะบริหารต้นทุนของกิจการอย่างไรในภาวะที่ราคาพลังงานถีบตัวสูงขึ้น และยังไม่มีทีท่าว่าจะลดลงในระยะเวลาอันใกล้ การหาทางเลือกที่จะอยู่รอดท่ามกลางต้นทุนพลังงานที่แพงขึ้น จึงเป็นเรื่องที่จำเป็น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
สายลม แสงแดด กับวิกฤติพลังงาน
ในขณะที่รัฐไทยกำลังแก้ปัญหาน้ำมันแพงโดยประกาศให้ประชาชนประหยัดไฟ และกำหนดให้สถานีวิทยุโทรทัศน์งดออกอากาศหลังเที่ยงคืนนั้น ประเทศอื่นๆ ในแถบยุโรปกำลังพยายามแก้ปัญหาที่ต้นเหตุ ด้วยการเสาะแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ ในการผลิตพลังงานมาทดแทนการพึ่งน้ำมันหรือแหล่งพลังงานที่ไม่สามารถนำกลับมาใช้ได้อีก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
The Story Maker
การที่ราคาหุ้นปิคนิค คอร์ปอเรชั่น ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องในหลายเดือนที่ผ่านมา นอกจากปัจจัยพื้นฐานของบริษัทแล้ว การอ่านขาดถึงจิตวิทยานักลงทุนของผู้บริหาร ก็เป็นอีกเหตุผลหนึ่งที่สนับสนุน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
Learning from Partner ก้าวกระโดดของ ปตท.สผ.
การสร้างบุคลากรในวงการน้ำมันของไทย เริ่มต้นอย่างจริงจังหลังพระราชบัญญัติปิโตรเลียมถูกประกาศใช้ในปี 2514 ที่มีการเปิดสัมปทานให้บริษัทต่างชาติเข้ามาสำรวจหาแหล่งปิโตรเลียมในประเทศไทย โดยมีเงื่อนไขซึ่งระบุไว้ว่าบริษัทน้ำมันที่จะเข้ามา ต้องให้ทุนการศึกษากับคนไทยได้ไปศึกษาต่อในวิชาที่เป็นหัวใจทางด้านเทคนิคของอุตสาหกรรมนี้ คือด้านธรณีวิทยา ธรณี ฟิสิกส์ และวิศวกรรมปิโตรเลียม ทุนนี้เรียกกันในสมัยนั้นว่า "ทุนน้ำมัน"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
"ที่โอมานเขาให้เครดิตเรามาก"
การได้รับสัมปทานขุดเจาะสำรวจปิโตรเลียมในประเทศโอมานของ ปตท. สผ.เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นระหว่างทั้ง 2 ประเทศ เพราะไทยเป็นลูกค้าที่ซื้อน้ำมันจากโอมานมาอย่างยาวนานและต่อเนื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
"พื้นที่ปกติทุกแห่ง เราทำได้หมด"
- ขอถามแบบคนนอก คือไม่ทราบว่าการเรียนรู้เทคโนโลยีในด้านของการสำรวจ ขุดเจาะ กับการเป็น operator อันไหนมันยากง่ายกว่ากัน
ผมแบ่งงานอย่างนี้ งานที่เป็นงานหัวใจหลักจริงของธุรกิจนี้ คืองานที่คนจะต้องบอกให้ได้ว่าน้ำมันกับก๊าซนั้น มันอยู่ตรงไหน พวกนี้จะเป็นพวกนักธรณีวิทยา นักธรณีฟิสิกซ์ วิศวกรปิโตรเลียม งานอันนี้จะไปให้คนอื่นทำแทนไม่ได้ บริษัทน้ำมันจะต้องทำเอง ฉะนั้นเราก็พยายามจะ build ตรงนี้ขึ้นมาให้คนของเรา
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
"Thai" Oil Hunter
ในบทบาทนักไล่ล่าหาน้ำมัน ปตท.สผ.ในฐานะบริษัทน้ำมันแห่งชาติของไทยใช้ยุทธวิธีเรียนรู้จาก partner ในการยกระดับตัวเอง จนทำให้บริษัทน้ำมันยักษ์ใหญ่ข้ามชาติหลายรายให้การยอมรับได้อย่างรวดเร็ว ทั้งที่ ปตท.สผ.เพิ่งมีอายุได้ไม่ถึง 20 ปีเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)