สิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ สิ่งแปลกปลอมในตลาดหุ้นไทย
ชุมพล ณ ลำเลียงกรรมการผู้จัดการใหญ่ ปูนซิเมนต์ไทย เคยพูดถึงศิษย์เก่า สิงห์ ตังทัตสวัสดิ์ ที่โชคชะตาพัดพาให้มาเป็นผู้จัดการตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ค่อนข้างเป็นห่วงลูกน้องคนนี้ เพราะต้องไปอยู่ในองค์กรที่ต้องสู้รบปรบมืออย่างตลาดหลักทรัพย์อาจวางตัวลำบาก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
"มาลีนนท์ ตลาดหุ้นจะพลิกโฉมทีวี ?"
สถานีโทรทัศน์สีช่อง 3 เป็นสถานีโทรทัศน์เพียงช่องเดียวในเวลานี้ ที่เข้าไประดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การเข้าระดมเงินทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของช่อง 3 ไม่ได้ทำในนามของบริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเม้นต์ ซึ่งเป็นผู้รับสัมปทานแพร่ภาพโทรทัศน์ จาก อ.ส.ม.ท. อันเป็นธุรกิจหลัก หากแต่ใช้วิธีการจัดตั้งบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ขึ้นเป็นโฮลดิ้ง คอมปานี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
ตลกวิชาการของเจ.เอฟ. หัวเราะสะท้านบู๊ลิ้มของมนตรี
"กระสุนนัดเดียวแต่ยิงนกได้สามตัว" เมื่อสิ้นปีที่แล้วกรณ์ จาติกวณิช
บิ๊กบอสเป็นพ่องานจัดเลี้ยงขอบคุณลูกค้าและสื่อมวลชน ตามด้วยจัดฉากรายการมันนี่ทอล์กสัมมนาโต๊ะกลมในหัวข้อ
"วิพากษ์หุ้นไทยสไตล์เจ.เอฟ." ที่ยิงออกอากาศในทีวีช่อง 11 ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
"ละครบทเก่าของนักเล่นหุ้น "ฆ่าตัวตาย-ประท้วง-คลังแทรกแซง"
ข่าวร้ายยุคไร้สติปราบเซียนหุ้นสิ้นปี กดดันให้วิวัฒน์ ศรีสัมมาชีพต้องฆ่าตัวตายประท้วงตลาดหลักทรัพย์เปรียบไปก็เหมือนโศกนาฎกรรมในบ่อนการพนัน ที่ผู้เล่นยอมรับกติกาบ่อนไม่ได้และมองโบกในแง่ร้ายกว่าความเป็นจริง กติกาที่ว่านี้คือมาตรการฟอร์ชเซลล์ที่บังคับขายหุ้นที่ไปวางค้ำประกันเงินกู้มาเล่นหุ้น เพื่อลดความเสี่ยง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2538)
"ดร. พิบูลย์ ลิมประภัทร บุรุษผู้มากับความหวังของหุ้นนอกตลาด"
บนชั้น 20 ของอาคารสินธร 3 ที่กำลังตกแต่งโฉมพื้นที่ไม่ต่ำกว่า 1,720 ตารางเมตรเป็น
"ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์กรุงเทพ" (ศ.ล.ก.) หรือที่รู้จักกันในนามตลาดโอทีซี
ประมาณปลายตุลานี้จะกลายเป็นศูนย์บัญชาการใหม่ของ ดร. พิบูลย์ ลิมประภัทร
อดีตคณะบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่สลัดคราบนักวิชาการธุรกิจสู่ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการคนแรก
ตามคำชวนของ ดร. สังเวียน อินทรวิชัย ประธานกรรมการ ศ.ล.ก.
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
หุ้นกู้แปลงสภาพครึ่งหลังปี 2538 จะไปยุโรปหรืออยู่ในประเทศดีกว่ากัน?
การลดอัตราดอกเบี้ยครั้งแรกในรอบ 3 ปีของธนาคารสหรัฐฯ นอกจากจะเป็นปัจจัยที่สำคัญทำให้ตลาดหุ้นทั่วโลกกลับมาคึกคักกันอย่างทั่วหน้า ยังเป็นปัจจัยสำคัญกระตุ้นระดมทุนในครึ่งหลังปี 2538 ให้กลับมาเฟื่องฟูอีกครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะการออกตราสารหนี้ แต่จะเป็นการออกตราสารหนี้ประเภทไหนนั้น วาณิชธนากรต่างมีข้อเสนอที่แตกต่างกัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
วัดอุณหภูมิ "หุ้นทางด่วน-รถไฟฟ้า" ยังไม่รู้ปหมู่หรือจ่า
ปัจจัยหลักที่จะทำให้การเข้ามาระดมทุนของโครงการทางด่วน และขนส่งมวลชน ไม่เป็นไปตามที่หวังก็คือ สถานะและความมั่นคงของโครงการนั้น ซึ่งรวมถึงอัตราเสี่ยงที่การเมืองจะเข้ามาแทรกแซงทำให้โครงการต้องมีอันผันแปร หรือล้มเลิกไป นอกจากนั้นประสิทธิภาพในการบริหารโครงการเพื่อให้ได้รายได้มากที่สุด ก็เป็นอีกความห่วงใยของนักลงทุนที่หวังจะเข้ามาหาเม็ดเงินจากหุ้นโครงการนั้นๆ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
นักลงทุนยุคใหม่ กระหายข้อมูลท่ามกลางทางเลือกที่ท่วมท้น
การลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ นับวันจะทวีความผันผวนมากขึ้นเรื่อย ๆ และเป็นความผันผวนที่เหนือวิสัยจะคาดการณ์อนาคตได้
ในช่วงต้นปี 2538 ใครจะคาดคิดได้ว่ามูลค่าการซื้อขายที่ตกต่ำสุดเหลือเพียง 2,000 ล้านบาท จะกลับพุ่งขึ้นเป็น 20,000 ล้านบาทภายในระยะชั่วข้ามเดือน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
มอร์แกน สแตนเล่ย์ บุกไทย แต่โลกตลาดหุ้นอีก ปี อาจเลวร้ายกว่าเดิม
" ปัจจุบัน นี้เราอยู่ในช่วงสิ้นสุดของยุคทอง Bull Market ที่กำลังจะหมดไป"
บาร์ตัน เอ็ม บิ๊กส์ นายใหญ่แห่งมอร์แกน สแตนเลย์ กรุ๊ป ซึ่งเป็นอินเวสเม้นท์แบงก์ที่มีชื่อเสียงก้องโลกกล่าวผู้บริกหารของธนาคารกรุงเทพ หลังจากจบพิธีการลงนามสัญญาสามปี เป็นพี่เลี้ยง Technical Advior แก่ บลจ .บัวหลวง อย่างเป็นทางการ เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)