หุ้นกรุงไทย
ธนาคารกรุงไทยนำเข้าหุ้นเข้าซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ฯเป็นวันแรกเมื่อวันที่
2 สิงหาคม หุ้นที่นำเข้าตลาดในครั้งนี้มีเฉพาะหุ้นเก่าจำนวน 50 ล้านหุ้นมูลค่า
5,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
สหธนาคาร
ศึกชิงแบงก์สหธนาคารที่ยืดเยื้อกันมาตั้งแต่ต้นเดือนเมษายน จนถึงวันนี้มีทีท่าว่าจะต้องยืดออกไปอีก
เมื่อกลุ่มชลวิจารณ์พลิกสถานการณ์จากการตกเป็นฝ่ายรับขึ้นมายันการรุกของกลุ่มพันธมิตรสามฝ่ายคือ
"เพ็ญชาติ-อัศวินวิจิตร-เอบีซี" ไว้ได้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
เสรี ทรัพย์เจริญ
ชื่อของเสรี ทรัพย์เจริญ มักจะถูกเอ่ยอ้างถึงพร้อม ๆ กับชื่อราชาเงินทุน
เมื่อมีการพูดถึงปัยหาเสถียรภาพหรือความมั่นคงของสถาบันการเงินชื่อนี้ยังตกผลึกในฝัน
(ร้าย) ของนักเล่นหุ้นที่ต้องสิ้นเนื้อประดาตัวในวิกฤติการณ์ตลาดหลักทรัพย์เมื่อปี
2522
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
ทิม แมคเคนนา "ยังไม่มีบริษัทไหนวิเคราะห์หุ้นได้สมบูรณ์ที่สุด"
หน่วยงานวิจัยและวิเคราะห์หลักทรัพย์เป็นงานสำคัญถึงขนาดกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจของบริษัทหลักทรัพย์เลยทีเดียว
ก็ว่าได้มีหน่วยงานวิจัยที่ค่อนข้างสมบูรณ์ก็คือว่า มีข้อได้เปรียบในการให้บริการลูกค้าไปกว่าครึ่งค่อนแล้ว
โดยเฉพาะหารมีลูกค้าชาวต่างชาติจำนวนมากแล้วละก็หน่วยงานนี้จะยิ่งทวีความสำคัญและเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)
ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณถึงคราวต้องออกมาทำอะไรเพื่อตัวเองบ้าง
การเดินเข้าออกของมืออาชีพในตำแหน่งงานทุกวันนี้ เป็นเรื่องธรรมดาเสียเหลือเกิน
กระทั่งการเดินออกจากตำแหน่งกรรมการผู้จัดการที่นั่งอยู่นานเป็นเวลา 11 ปีกับอีก
3 เดือนของ ศิริวัฒน์ วรเวทวุฒิคุณ แห่งบริษัทหลักทรัพย์เอเชีย มือค้าหุ้นตัวยงของชาตรี
โสภณพนิช ก็ดูจะเป็นเรื่องธรรมดา ๆ อีกเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในวงการค้าหุ้นไทย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
"ถ้าการบินไทยเข้าตลาดหุ้นไม่เห็นเสียหายอะไร"
ในฐานะเป็นแบงเกอร์หากการบินไทยจะริเวอร์เรทเงินเข้ามาเพื่อมาขยายหรือซื้อเครื่องบิน
เหตุผลที่เขาบอกว่าไม่สมควรต้องเข้าตลาดหุ้น เพราะมีความสามารถในการก่อหนี้ได้เองนั้น
ประเด็นนี้ ผมว่ามองกันคนละจุด การจะก่อหนี้หรืออะไรก็ตาม ในเมื่อบริษัทนี้เป็นบริษัทจำกัด
สัดส่วนของเงินทุนกับหนี้ต้องได้อัตราส่วนกันไม่ใช่ว่าเราไปใช้เงินกู้ๆๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
คนไทยคนแรกในสำนักงานวิจัยแบร์ริ่ง ซีเคียวริตี้
พูดถึงบริษัทที่มีอายุเก่าแก่กว่า 200 ปีของอังกฤษ บริษัทแบร์ริ่ง บราเดอร์
(BARING BROTHERS) ของตระกูล "BARRING" เชื่อแน่ว่า สำหรับคนที่ไม่ค่อยได้สนใจในธุรกิจการเงินและค้าหลักทรัพย์
คงไม่รู้จักว่า บริษัทนี้ยิ่งใหญ่เพียงไร ?
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)
เบื้องหลังชิงเก้าอี้โบรกเกอร์ชัยชนะของ ดร.สม และ ลิม ซู เหลียง
"การประมูลเก้าอี้โบรกเกอร์ เป็นปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด สร้างความฉงนให้กับวงการค้าหุ้นทั่วโลก
ด้วยเหตุผลเฉพาะส่วนของตลาดหุ้นกรุงเทพฯ เองที่เคยประสบกับความเฉื่อยชาของโบรกเกอร์บางราย
การได้มาซึ่งที่นั่งครั้งนี้แม้จะด้วยราคาแพงลิบลิ่ว แต่ก็สะท้อนถึงความตั้งใจจริงของผู้ลงทุนที่จะทำธุรกิจนี้อย่างจริงจัง
และเท่ากับเป็นการชี้ช่องต่อตลาดหุ้นในอนาคตด้วย…"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
เบอร์ลี่ฯ-เฟิสท์ แปซิฟิค เกมส์นี้ยังไม่จบ
"เรื่องนี้ก็คือการเทคโอเวอร์ธรรมดา ๆ นั่นแหละ" ผู้สันทัดกรณีในวงการธุรกิจท่านหนึ่งให้ข้อสรุปกับ
"ผู้จัดการ" สำหรับการเข้ามาในเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ของเฟิสท์ แปซิฟิค
เอาไว้เช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)