บำรุงราษฎร์สู่อินเตอร์
บรรดาคนไข้และญาติผู้ป่วย คงพากันแปลกใจไปตามๆ กัน ที่ค่ำวันหนึ่ง ณ ห้องโถงรับรองชั้นล่างของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ได้ตกแต่งสถานที่ด้วยดอกไม้สีเขียวขาวอย่างสวยงาม นายแพทย์, พยาบาล ในชุดเสื้อกาวน์เดินขวักไขว่ไปมา และมีเสียงดนตรีกระหน่ำก้อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
Specialized at Bangkok Hospital
โรงพยาบาลกรุงเทพก่อตั้งมานานถึง 33 ปี เป็นโรงพยาบาลเอกชนแห่งแรก ที่เกิดจากวิสัยทัศน์ของนายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ เป็นธุรกิจอีกชิ้นหนึ่งที่เขาภูมิใจอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
Spine Center
เครื่องมือเรียวเล็กที่วางอยู่เบื้องหน้านั้น ประสิทธิภาพของมันมีความหมายอย่างมากสำหรับคนที่เป็นโรคปวดหลัง เป็นวิวัฒนาการใหม่ทางด้านเครื่องมือแพทย์ที่คนรุ่นใหม่และผู้ป่วยทั่วไปให้ความสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
เกษมราษฎร์เด่นที่เครือข่าย
ถึงแม้ว่าในตลาดหลักทรัพย์ฯ จะมีหุ้นในกลุ่มโรงพยาบาลอยู่เป็นจำนวนมากแต่การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ของบางกอกเชน ฮอสปิทอล (KH) ในเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของนักลงทุนที่มองเห็นอนาคตของหุ้นกลุ่มนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
หุ้นตัวใหม่ในกลุ่มโรงพยาบาล
"เราต้องการเป็นโรงพยาบาลสำหรับลูกค้าระดับบี" อนันต์ อัศวโภคิน ประธานกรรมการบริษัทบางกอก เชน ฮอสปิทอล ผู้บริหารกลุ่มโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ บอกระหว่างงานประกาศเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ ที่ได้จัดให้มีขึ้นที่โรงแรม InterContinental Bangkok เมื่อวันที่ 7 กันยายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2547)
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ "World Class Service"
สวย ดี และแพง คือ ภาพลักษณ์สำคัญของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ที่โฟกัสไปยังกลุ่ม High Socity ของประเทศ และชาวต่างชาติกระเป๋าหนักที่ชัดเจน แต่มาวันนี้แผนงานการตลาดใหม่ได้พุ่งเป้าไปยังเด็กและคนชั้นกลางวัยหนุ่มสาวมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Bumrungrad Hospital International
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เป็นโรงพยาบาลใหญ่ในเมืองไทยที่ไม่มีสาขาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
แต่มีนโยบายการใช้ Network Know-how คือเน้นการสร้างคุณภาพสูงสุดระดับโลก
และสร้างผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาขึ้นมาประมาณ 2-3 ชุด เตรียมพร้อมไว้ให้โรงพยาบาลทั่วไปจ้างทีมงานนี้ไปบริหารจัดการและวางระบบให้กับโรงพยาบาลแห่งใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Specialized at Bangkok Hospital
ความเชี่ยวชาญในเรื่อง "ศูนย์โรคหัวใจ" และ "ศูนย์สมอง" เป็น "จุดขาย" ที่ชัดเจนที่สุดของโรงพยาบาลกรุงเทพ และเป็น "จุดแข็ง" ที่ถูกนำมาเสริมให้โดดเด่นยิ่งขึ้นด้วยวิธีการทางด้าน "การตลาด" พร้อมๆ กับการปูพรมสร้าง Brand Management ด้วยการขยายเครือข่ายอย่างต่อเนื่อง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Japan Medical
คำทักทายเป็นภาษาญี่ปุ่นดังขึ้นอย่างนิ่มนวล จากพนักงานต้อนรับในคลินิกญี่ปุ่น ก่อนที่จะเดินนำคนไข้ไปลงทะเบียนในห้องนั้น ใครที่ผ่านไปมาบนชั้น 2 ของโรงพยาบาลกรุงเทพอาจจะแปลกใจ เพราะเมื่อมองเข้าไปในห้องนั้นจะเห็นบรรยากาศที่แตกต่างออกไป เพราะนอกจากเจ้าหน้าที่แล้ว คนไข้ที่นั่งรออยู่ทั้งหญิงชายและเด็ก ล้วนแล้วแต่เป็นคนญี่ปุ่นทั้งสิ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
ธนบุรี โรงพยาบาลเพื่อ "คนไทย"
แม้มั่นใจในความเป็น "หนึ่งเดียว" ย่านฝั่งธนบุรี แต่ในปีนี้โรงพยาบาลธนบุรีต้องทำเกมรุกทางการตลาดมากขึ้นเช่นกัน โดยอาศัยจุดแข็งของความเป็นโรงพยาบาลของชุมชนและมีเครือข่ายมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)