เดอะโรสกาเด้นกับโปรแกรมท่องเที่ยวใหม่"อยู่อย่างไทย"
เกือบ 30 ปีมาแล้วที่โรงแรมโรสกาเด้นตั้งตระหง่านอยู่ริมแม่น้ำนครชัยศรี
บนพื้นที่ 170 ไร่ ในบริเวณสวนสามพราน โดยมีจุดขายที่แตกต่างจากโรงแรมขนาดใหญ่ในกรุงเทพฯ
และบริเวณใกล้เคียงคือ การเน้นที่ศิลปวัฒนธรรมไทย การแสดงในหมู่บ้านไทย และสภาพธรรมชาติภายในสวนสามพราน
ซึ่งมีทะเลสาบขนาดใหญ่ถึง 30 ไร่ สวนดอกไม้ และการตกแต่งบริเวณอย่างสวยงาม
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
วิบากกรรมของเชอราตันในไทย
ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านเชนเชอราตันในเมืองไทย ต้องพลอยฟ้าพลอยฝนได้รับผลกระทบกระเทือนโดยตรงกับภาวะผันผวนทางการเมือง
และเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น นับตั้งแต่สงคราวอ่าวเปอร์เซียในปี 2533 การปฏิวัติของ
รสช.ในปี 2534 และพฤษภาทมิฬในปี 2535
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
ดุสิตรายาวดี เดินหน้าไปเรื่อย ๆ ระวังจะหกล้ม
แผนสร้าง “ดุสิตรายาวดี” ให้เป็นโรงแรม 5 ดาวที่เข้าขั้นมาตรฐานสิ่งแวดล้อมระดับ BLUE FLAG ของยุโรป อาจเป็นได้เพียงแค่การโฆษณาชวนเชื่อที่สวนทางกับความจริง หากเจ้าของโครงการ คือบริษัท พรีเมียร์ รีสอร์ทกระบี่ และกลุ่มดุสิตธานีในฐานะผู้บริหาร ไม่ลบภาพชวนฉงน 2 เรื่องใหญ่ คือ เรื่องแนวเขตโรงแรมที่อาจทับที่ดินอุทยานแห่งชาติ และการใช้ช่องโหว่กฎหมายหลีกเลี่ยงการตรวจ-สอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
พิเชษฐ ! เอาอีกแล้วที่กระบี่
ความบริสุทธิ์ของกระบี่เสมือนหนึ่งเป็นแม่เหล็กชั้นเยี่ยมดึงดูดนักลงทุนการท่องเที่ยวให้แห่กันมา เหมือนครั้งหนึ่งที่เคยเกิดขึ้นแล้วกับจังหวัดใกล้เคียงกัน คือ ภูเก็ต
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"อนาคตโรงแรมอยู่ที่แหล่งท่องเที่ยว"
"แผน 7 รัฐบาลวางเป้าจะมีนักท่องเที่ยวเข้าพักในโรงแรม และสถานที่พักต่างๆ
รวม 6-8 ล้านคน เมื่อสิ้นปี '39 จะมีเงินเข้าประเทศเกือบ 200,000 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"คุณหญิงพัชรี อุ้ม "อโนมา" ฝ่ามรสุมธุรกิจโรงแรม"
โรงแรมอโนมา สวิสโฮเต็ล กรุงเทพฯ เริ่มต้นด้วยทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาทภายใต้ชื่อบริษัทไพฑูรย์บ้านและที่ดินของกลุ่มรัตตไพฑูรย์ ซึ่งมีคุณหญิงพัชรี ว่องไพฑูรย์ เป็นประธานกรรมการบริหาร การสร้างโรงแรมแห่งนี้เป็นไปตามภาวะเฟื่องฟูของธุรกิจท่องเที่ยวเมื่อปี 2530 ต่อเนื่องมาปี 2531
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2535)
"ใครเป็นที่ปรึกษาทำธุรกิจในเวียตนาม"
"การฟื้นฟูเวียตนาม เป็นระยะเริ่มต้นของประเทศในกลุ่มอินโดจีน ที่นักธุรกิจมองเห็นโอกาสแต่ความลึกลับในการหาช่องทางที่เวียตนาม
ทำให้ธุรกิจที่ปรึกษามีบทบาทอย่างมาก"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
ดุสิตธานีกรุ๊ป ยิ่งขยายยิ่งโตในยุคชนินทร์ โทณวณิก
ในช่วงระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมานี้ ดุสิตธานีกรุ๊ปได้เกิดขึ้นและขยายกิจการในรูปของการร่วมทุนหรือรับบริหารไปยังหลายจังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว
อาทิเช่น ดุสิตอินน์ที่เชียงใหม่ ดุสิตรีสอร์ทแอนด์โปโลคลับที่ชะอำ ดุสิตรีสอร์ทพัทยา
ดุสิตลากูน่าที่ภูเก็ต ดุสิตไอส์แลนด์เชียงราย และดุสิตเจ.บี.ที่หาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
พูลเพิ่ม สุวัณณาคาร ผู้เบิกศักราชท่องเที่ยวข้ามชาติให้ภูเก็ต
ภูเก็ตไอแลนด์รีสอร์ทเป็นจุดกำเนิดความสำเร็จของพูลเพิ่ม สุวัณณาคาร ผู้จุดประกายการท่องเที่ยวระหว่างประเทศให้กับเกาะภูเก็ตเป็นคนแรกและวันนี้บริษัท
ภูเก็ตไอแลนด์ ซึ่งเป็นบีชรีสอร์ทที่เก่าแก่ที่สุดของภูเก็ตกำลังรอเข้าตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอยู่
หลังจากเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็น 350 ล้านบาท และตั้งบงล. ธนสยามเป็นแกนนำอันเดอร์ไรเตอร์
ผู้จำหน่ายหุ้นละ 50 บาท
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)