โชคชัย อักษรนันท์ ประธานอาเซียน-ซีซีโอคนใหม่
บนชั้นสูงสุด ชั้นที่ 30 ของอาคารซีพีทาวเวอร์ โชคชัย อักษรนันท์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโส
บริษัทเครือเจริญโภคภัณฑ์ได้เล่าให้ฟังถึงภารกิจใหม่ในฐานะประธานสหพันธ์หอการค้าและอุตสาหกรรมแห่งประเทศอาเซียน
หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ประธานอาเซียน-ซีซีโอ"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
ที่ปรึกษาลงทุนอินโดจีนเกิดอีกราย
ชื่อเสียงของ "สุธีร์ รัตนนาคินทร์" เป็นที่รู้จักกันดีของวงการตลาด
สุธีร์ไม่ได้เป็นนักการตลาดโดยตรงเหมือนเช่นนักการเมืองชื่อดังคนอื่น ๆ ก็จริง
แต่สิ่งที่สร้างชื่อเสียงให้สุธีร์โด่งดังในวงการธุรกิจต่าง ๆ ได้ก็คือ การเป็นนักล็อบบี้ยีสต์ตัวยง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
ณพงษ์ สงวนนภาพร สร้างฝันใหม่ไปกับบรรษัท
การที่ใครสักคนจะสลัดสถานะความเป็นลูกจ้างทิ้งแล้วก้าวเข้าสู่เส้นทางของนักธุรกิจนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย
โดยเฉพาะในสภาพการณ์ที่เต็มไปด้วยกลไกการแข่งขันอันซับซ้อนทั้งด้านทุนการบริหารและเทคโนโลยี
แต่ "ณพงษ์ สงวนนภาพร" เป็นหนึ่งในไม่กี่คนที่ทำได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
"มาตรา 7 ของอนุสัญญายูเนสโก ปี 1970"
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2520 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชนิพนธ์คำขวัญ
เพื่ออันเชิญลงพิมพ์ในหนังสืออนุสรณ์ ของสภาบันการศึกษาแห่งหนึ่ง ความว่า
"เกียรติประวัติมิใช่อดิตที่น่าชื่นชมสำหรับจะนำมา ซึ่งความภาคภูมิใจกันเท่านนั้น
แท้จริงยังเป็นรากฐานหลักประกันอันมั่นคงที่สุด สำหรับก่อตั้งสร้างเสริมอันความเจริญงอกงามอันไม่มีที่สิ้นสุดต่อไปในอนาคตด้วย"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
เยอรมันนีฐานบริษัทเอเชีย สู่อีซี 1992
ไม่ว่าจะเอามาตราฐานอะไรมาวัด งานแสดงสินค้า C&BIT ที่จัดขึ้นทุกเดือนมีนาคมของทุกปี
ในเมืองแฮโนเวอร์ เยอรมนี ก็เป็นมหกรรม ที่ที่ทรงไว้ซึ่งความสำคัญเสมอ จากการที่ที่มีผู้เข้าชม
สินค้าจาก 40 ประเทศราวครึ่งล้านคนเป็นประจำ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
บริหารกลยุทธ์รับยุโรป 1992
"บริหารกลยุทธ์รับยุโรป 1992" เรียบเรียงจากหนังสือ "PRACTICAL MANAGEMENT FOR 1992" ซึ่งจัดทำโดย "โคมาร์ค โรว์แลนด์" บริษัทที่ปรึกษาประชาสัมพันธ์ในบรัสเซลส์ประเทศเบลเยียม มีเนื้อหาในเชิงการบริหารทุกแขนง ที่เกี่ยวข้องกับเตรียมรับสถานการณ์ของบริษัทต่าง ๆ สำหรับภาวะตลาดร่วมยุโรป 1992 ซึ่ง "ผู้จัดการรายเดือน" จะนำเสนอเป็นตอน ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
โอตารุเมืองในฝันของชาวโซเวียต
นับเป็นระยะเวลาหลายปีมาแล้วที่สหภาพโซเวียตได้ริเริ่มใช้นโยบาย "เปเรสทรอยกา" ซึ่งเป็นนโยบายปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ ของประเทศแบบเดิมสู่ระบบกลไกตลาดเสรี การเปลี่ยนแปลงในครั้งนั้นยังผลให้ชาวโซเวียตมีเสรีภาพในการเดินทางไปทุกหนทุกแห่งรวมทั้งการใช้จ่ายเงินได้ตามใจชอบและจากนั้นเป็นต้นมาโลกก็ได้มีโอกาสต้อนรับนักท่องเที่ยว หรือลูกค้าชาวโซเวียต อย่างจริงจัง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
ปุจฉาของไมเคิล อี.พอล์เตอร์"ทำไมบางประเทศเท่านั้น
ทำไมบางประเทศถึงประสบความสำเร็จในการแข่งขันระหว่างประเทศ ขณะที่อีกหลายประเทศกลับล้มเหลว
ดูเหมือนจะเป็นคำถามเชิงเศรษฐกิจที่ได้ยินบ่อยครั้งมากในยุคของเรา
ทำไมเยอรมนีจึงเป็นฐานสำคัญของผู้ผลิตรถหรูหราราคาแพงชั้นนำของโลกมากมายนัก
?
ทำไมสหรัฐฯ จึงสามารถผลิตคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลได้เหนือกว่าคู่แข่งระดับโลกชาติอื่น
ๆ มากนัก ?
แล้วอะไรทำให้บริษัทญี่ปุ่นแข็งแกร่งนักในแง่ของสินค้าอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการอุปโภคบริโภค
?
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)
สมาน คุรุธวัช ตัวจักรสมาคมลงทุน ไทย-จีน
ความผูกพันของคนจีน ที่มีต่อคนไทยนั้นมีประวัติศาสตร์ของการพัฒนาความผูกพันระหว่างเชื้อชาติและวัฒนธรรม
จนเรียกว่า เหมือนเป็นชาติเดียวกัน โดยเฉพาะคนจีนที่อพยพเข้ามาตั้งรกรากในประเทศไทยในอดีตกาล
เรียกว่าได้เริ่มต้นทำการค้าขายจนกระทั่งเติบโตเป็นกลุ่มธุรกิจรายใหญ่มากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
ตลาดบริการทางการเงินจะต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
การเจรจาข้อตกลงทั่วไป ว่าด้วยภาษีศุลกากร และการค้าจะล้มเหลวไปแล้วที่กรุงบรัสเซลล์
เมื่อต้นเดือนธันวาคม ที่ผ่านมา เนื่องจากการชะงักงันในปัญหาการเจรจากลุ่มสินค้าการเกษตร
ซึ่งถือได้ว่า เป็นหัวใจหลักของการเจราจาครั้งนี้ ทำให้กลุ่มการค้าสินค้าบริการซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความสำคัญไม่แพ้กันก็เป็นอีกหลุ่มหนึ่งที่ ประสบชะตากรรมร่วมกันด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)