Nongkhai in the Mid of Changing Tide
คำกล่าวที่ว่า "Time and Tide Wait for No Man" ดูจะเป็นสิ่งที่หลายประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงตระหนักดี ที่จะต้องเร่งสร้างระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเชื่อมต่อกับ "รถไฟขบวน GMS" ให้ทันการณ์จนหลายประเทศก็ลืมคำนึงไปว่า "Time and Tide Never Return" ก็เป็นวลีเศร้าๆ ที่มาพร้อมกับกระแสความเปลี่ยนแปลง ถ้าหากไม่มีการเตรียมพร้อม
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2551)
เมื่อรัสเซียไปเที่ยวซาฟารี
ประเทศตลาดเกิดใหม่ยักษ์ใหญ่กำลังต่อสู้กันเพื่อแย่งชิงทรัพยากรน้ำมัน ก๊าซ และสินแร่ต่างๆ ในแอฟริกา การต่อสู้เป็นไปอย่างถึงพริกถึงขิงเหมือนกับในศตวรรษที่ 19 ซึ่งประเทศนักล่าอาณานิคมจากยุโรปเคยแย่งชิงกันยึดครองดินแดนในทวีปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
โอกาสของธุรกิจไทย ในแนวเส้นทางหมายเลข 9
หากเปรียบเทียบกับโครงการสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจทางตอนบนแล้ว โอกาสของนักธุรกิจไทยที่จะได้ประโยชน์จากพื้นที่ลาวตอนกลาง ตามแนวถนนหมายเลข 9 ของกรอบ EWEC ในภาคอีสาน มีความเป็นไปได้ในเชิงรูปธรรมมากกว่า เพียงแต่การเข้ามาลงทุนต้องตรงกับศักยภาพของพื้นที่และถูกช่องทางจริงๆ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
ลั่นช้างเจียง ลมหายใจสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ
ภายใต้แนวคิดการขนส่งทางน้ำมีต้นทุนต่ำ ไม่ต้องลงทุนพัฒนามากเหมือนการตัดถนนขึ้นใหม่ ทำให้แม่น้ำโขง หรือที่คนจีนเรียกว่า "ลั่นช้างเจียง" แม่น้ำที่มีความยาวมากกว่า 4,800 กิโลเมตร มีต้นน้ำอยู่ติดกับทิเบต ไหลผ่านจีน พม่า ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม ก่อนออกสู่ทะเล
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
สี่แยกอินโดจีน วันนี้มีเพียงป้ายบอกทาง
หากขับรถตามถนนเลี่ยงเมืองพิษณุโลกไปประมาณ 10 กิโลเมตร จากมหาวิทยาลัยนเรศวร จะพบกับสี่แยกที่มีป้ายพื้นสีน้ำเงินตัวอักษรสีขาวโดดเด่นเป็นสัญลักษณ์ตามมุมทางเลี้ยวต่างๆ ว่านี่คือ "สี่แยกอินโดจีน"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
Golden City...City of China
สิ่งที่สามารถเห็นได้เป็นประจำเมื่อเดินทางเข้าไปในเขตแดนลาวทางภาคเหนือยามนี้ คือสินค้าและวิถีชีวิตที่แสดงถึงความเป็นจีน ไม่ว่าจะเป็นในตลาด ร้านรวง ไปจนกระทั่งถึงตอนเหนือสุด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
R3b เส้นทางที่ต้องมีพี่เลี้ยง
คำกล่าวที่ว่า "สามเหลี่ยมทองคำ เหมือนแดนสนธยา" นั้น เป็นที่รับรู้กันว่า น้ำหนักจะเทไปในพื้นที่ฝั่งพม่ามากกว่าประเทศอื่นๆ อย่าง จีน ลาว และไทย ซึ่งนอกจากจะมีปัญหาการเมืองภายในที่ต่อเนื่องยาวนานหลายสิบปีแล้ว ยังเป็นเพราะปัญหาชนกลุ่มน้อยที่ยังมีอิทธิพลในแต่ละพื้นที่อยู่ โดยเฉพาะรัฐฉานที่เป็นส่วนหนึ่งของ "สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
เส้นทาง R3a กว่า 10 ปี จึงเป็นรูปเป็นร่าง
ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Sub regional Economic Cooperation ; GMS-EC) ที่เริ่มต้นผลักดันกันมาตั้งแต่ปี 2535 หรือ 15 ปีที่แล้ว โดยธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย (ADB) กำหนดแนวพัฒนาเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงไว้ 10 เส้นทาง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
ประตู (อินโด) จีน เปิดแล้ว !!!
เมื่อโครงการร่วมมือทางเศรษฐกิจของ 6 ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งมีการพูดถึงกันเป็นเวลาช้านาน กำลังปรากฏภาพความคืบหน้าออกมาให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม สิ่งที่จะเกิดขึ้นกับภูมิภาคนี้ในอนาคต จึงเป็นคำถามที่ท้าทายต่อการแสวงหาคำตอบ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
การกลับมาของรัฐวิสาหกิจ
รัฐวิสาหกิจในประเทศอย่างจีน รัสเซีย สิงคโปร์ และดูไบ กำลังผงาดในตลาดโลกไร้พรมแดน อย่างสวนกระแสโลกาภิวัตน์และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)