"สยามกลการทศวรรษที่ 5 ให้จับตา "พรพินิจ"
วันที่ 4 กันยายนนี้ นับเป็นปีที่คนในสยามกลการ ตื่นเต้นเป็นพิเศษ เพราะเป็นการฉลอง
40 ปีสยามกลการ ชื่อบริษัทซึ่ง ม.ล. ยวง อิศรเสนา ตั้งให้กับถาวร พรประภา
ผู้รับมรดกร้าน "ตั้งท่งฮวด" จาก "ไต้ล้ง" ต้นตระกูล
"พรประภา"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"ปรีดา "ไทยยังไม่จำเป็นต้องใช้แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์"
นโยบายใหม่เรื่องล่าที่คณะรัฐมนตรีมีมติออกมาในนามของการแก้ไขมลพิษด้านอากาศก็คือ
บังคับให้รถยนต์ใหม่ที่ใช้เครื่องยนต์จุดระเบิดต้องติดตั้ง 'แคทาลิติกคอนเวอร์เตอร์'
ทั้งนี้โดยมีผลบังคับตั้งแต่ 1 มกราคม ปี 2536 เป็นต้นไปสำหรับรถยนต์ขนาด
1600 ซีซีขึ้นไป และตั้งแต่ 1 กันยายน ปีเดียวกันสำหรับรถยนต์ขนาดต่ำกว่า
1600 ซีซี
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"เหตุวิกฤตครั้งหนึ่งในชีวิต ถาวร พรประภา"
ถาวร พรประภาเป็นตัวอย่างของพ่อค้าในยุคสงครามโลกครั้งที่สองที่บุกเบิกกิจการค้ารถยนต์จนสร้างอาณาจักรอุตสาหกรรมในนามของ
"สยามกลการ" ได้สำเร็จเพราะส่วนผสมระหว่างสายสัมพันธ์ธุรกิจกับการะสมทุนให้แข็งแกร่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"นักต่อสู้มลพิษทางอากาศ"
"ทุกรัฐบาลผมจะไปติดต่อบอกว่าผมอยากแก้ปัญหาอากาศเป็นพิษ.."
นี่คือคำภิญ สุทธิพิทักษ์เจ้าของธุรกิจผลิตชนวนไฟฟ้าไม่ไหม้ไฟมูลค่า 200
ล้าน เขาติดตามปัญหาอากาศเป็นพิษจากยานยนต์มาเป็นเวลาเกือบ 20 ปี แม้ว่าจะต้องบริหารกิจการถึง
2 บริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"มลพิษจากยานยนต์ 2500 DI ของอีซูซุ"
"ประหยัดน้ำมัน 7 ปีก่อน อีซูซุจับความต้องการตลาดของคนไทยได้ จึงผลิต
DI สู่ตลาดปิกอัพ การใช้กฎหมายควบคุมมลพิษของรัฐ อีซูซุกอบโกยอย่างสบายใจ
แต่คนไทยตายผ่อนส่งจากควันพิษ"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
เปิดรูรั่วกฎหมาย ประกันภัยบุคคลที่ 3
ในปัจจุบันการชดใช้ค่าเสียหายทางร่างกาย เนื่องมาจากอุบัติเหตุทางยานยนต์ตามระบบกฎหมายไทย
จะวางอยู่บนหลักกฎหมายละเมิดกับแหล่งค่าสินไหมทดแทนอื่น ๆ อาทิ สัญญารับขนคนโดยสาร
การประกันภัย หรือกฎหมายคุ้มครองแรงงานก็ตาม แต่โดยเหตุที่การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามแหล่งอื่น
ๆ ก็มีขอบเขตการใช้บังคับและการคุ้มครองอยู่ในวงจำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
ยุทธศาสตร์รวบฐานผลิตเข้าด้วยกัน
แรงกดดันอย่างหนักจากการแข่งขันอันดุเดือดและผลตอบแทนอันเอกอุที่จะได้รับจากผลการดำเนินงานที่ดีนั้น
จะนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ในองค์กรที่ดำเนินธุรกิจในตลาดร่วมยุโรป
กิจการบริษัททุกขนาดจะต้องรวมหน่วยงานของตน อาทิ ฝ่ายวิจัยและพัฒนา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
วีระ สุสังกรกาญจน์ วิถีแห่งคนกล้าเปิดเสรีรถยนต์
39 ปีที่ วีระ สุสังกรกาญจน์ เคี่ยวกรำในงานรับราชการ โดยเฉพาะในกระทรวงอุตสาหกรรมที่เขาได้เกิด
และเติบโตจากนักอุตสาหกรรมโทหนุ่ม เมื่อ 34 ปีที่แล้ว จนกระทั่งได้เป็นปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมเมื่อปี
2525-27 และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
รถยนต์ปี'34 วิ่งไม่ติดเบรก
ครึ่งปีแรกของบรรดายักษ์ใหญ่ยักษ์เล็กในอุตสาหกรรมยานยนต์ ไม่ว่าจะเป็นโตโยต้านิสสัน
ฮอนด้า หรือแม้กระทั่งรถค่ายยุโรป เช่น วอลโว่ หรือบีเอ็มดับเบิลบลิว ต่างพูดเป็นเสียงเดียวเดียวกันว่า
ไม่กระทบกระเทือนจากภาวะผันผวนทางเศรษฐกิจ สืบเนื่องจากปีทองของยอดขายรถยนต์ดีมาตลอดสามปี
แต่ครึ่งปีหลังของปีนี้ ยังเป็นเรื่องน่าเป็นห่วง ตราบใดที่ราคาน้ำมันและอัตราดอกเบี้ยเช่าซื้อยังสูงไม่หยุดเช่นนี้!!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)