แผนกู้ตลาดมาสด้าในไทย งานยากของบุนโซ ซูซูกิ
ในช่วง3-4 ปีที่ผ่านมาตลาดรถยนต์ไทยมีความเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นนับเป็นช่วงแห่งการปรับตัวครั้งยิ่งใหญ่เพื่อให้ทันรับกับความเติบโตของตลาดรถยนต์อันส่งผลให้เกิดการแข่งขันทางการตลาดที่รุนแรง และก่อให้เกิดผลต่อเนื่องประการสำคัญนั่นคอ ประเทศไทยกลายเป็นเป้าหมายสำคัญในการเป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออกของรถยนต์ญี่ปุ่นในภูมิภาคเอเซีย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
สยามยามาฮ่าจบแบบพี่น้อง ไม่เสียหายแต่ "เสียความรู้สึก"
ข่าวการประนีประนอมกันระหว่างกลุ่มเคพีเอ็นของเกษมและคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช กับพรเทพ พรประภา ผู้บริหารของสยามกลการในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่สยามยามาฮ่าเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2538 ซึ่งมีนายชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ผลลัพธ์ก็คือ กลุ่มเคพีเอ็นยอมตกลงซื้อหุ้นในบริษัท สยามยามาฮ่า จำนวน 67.78% จากสยามกลการ และ 16.09% จากดร.ถาวร พรประภา ในราคาร1,217 ล้านบาท และ 289 ล้านบาท ตามลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
เปิดแนวคิดฮอนด้าคาร์สจับความหลากมาทำตลาด
"สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยมีศักยภาพที่เข้มแข็ง ประชาชนมีอำนาจในการต่อรองเลือกซื้อสินค้าคุณภาพเยี่ยม
ในราคาที่สมเหตุสมผล ดังนั้น ฮอนด้า ซีวิค วีเทค 1995 จึงนับเป็นอีกหนึ่งในความภาคภูมิของฮอนด้าคาร์ส์
ที่ประกอบรถยนต์ร่วมสมัยขึ้นมารับใช้ประชาชนชาวไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 รุ่น"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
"ศึกธุรกิจมอเตอร์โชว์ร้อยล้านวัดกันที่คอนเซปท์คาร์หรือยอดขาย"
งานมอเตอร์โชว์ที่สวนอัมพรของปราจิณ เอี่ยมลำเนา เจ้าของบริษัทกรังด์ปรีซ์อินเตอร์เนชั่นแนล
ได้จุดพลุช่องทางจำหน่ายรถยนต์ จนกลายเป็นธรรมเนียมของวงการธุรกิจนี้ไปแล้วว่า
สำหรับผู้ที่จ้องจะซื้อรถใหม่หรือนักเลงรถที่อยากดูรถต้นแบบจริงๆ ต้องมางานมอเตอร์โชว์
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2537)
"สยามกลการเดินหลงทาง?"
สำหรับบริษัทรถยนต์อย่างสยามกลการพวกเขา มักจะบอกใครต่อใครว่าเป็นบริษัทไทยแท้
100% แต่น่าเสียดาย ที่ในขณะที่ยุคแห่งโลกานุวัตรกำลังแผ่กระจายในโลกของการแข่งขัน
พวกเขากลับมีปัญหาจากการโยกย้ายคนภายในเป็นเพียงน้ำผึ้งหยดเดียว ที่อาจจะทำให้ชื่อของ
"สยามกลการ" ถูกลบจากสาระบบธุรกิจยานยนต์ของไทยในอนาคต !!
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
"สยามกลการกับประวัติศาสตร์หน้าใหม่"
ชื่อของสยามกลการในอดีตที่ผ่านมาเพิ่งมีอายุการก่อตั้ง ครบ 40 ปีเมื่อปีก่อนดูจะเป็นบริษัทรถยนต์เกรดรอง
เมื่อเทียบกับบริษัทผู้ค้ารถยนต์รายอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นโตโยต้าหรือ ฮอนด้าที่เป็นค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นด้วยกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"ยักษ์ใหญ่ GM เริ่มสนใจตลาดรถไทย"
อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเพิ่มสูงขึ้น 30% เมื่อปี 2535 และเป็นที่คาดหมายว่าจะเพิ่มขึ้น 20% ในปีนี้ ตัวเลขเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องประกาศ ทุกคนคงทราบดีอยู่แก่ใจจากปริมาณรถยนต์บนท้องถนนและสภาวะการจราจรติดขัดที่รุนแรงขึ้นทุก ๆ วันและยากที่จะเยียวยาแก้ไข
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"เอนไก VS สยามอัลลอยวีลศึกเจ้ายุทธจักรล้อแม็ก"
ศึกล้อแม็กอันดุเดือดเลือดพล่านกำลังอุบัติขึ้นในยุทธจักรการค้ามูลค่านับพันล้านบาทแห่งนี้
ที่ซึ่งมีเอนไกเป็นผู้นำตลาดอันแข็งแกร่ง แต่ในปี 1993 ขณะที่ยอดขายรถยนต์ได้รับการคาดว่าจะเติบโตไม่ต่ำกว่า
20%ในปีนี้ ความร้อนระอุของสมรภูมิรบทางการค้าล้อแม็กได้พัฒนาไปอีกขั้นสู่การต่อสู้กันด้วยคุณภาพ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
"ถึงเวลา "บิ๊กทรี" คืนสังเวียนตลาดรถสหรัฐฯ"
นับเป็นครั้งแรกในรอบศตวรรษที่อุตสาหกรรมรถยนต์สหรัฐฯ สามารถชิงความเป็นผู้นำในตลาดบ้านเกิดคืนจากคู่แข่งญี่ปุ่นได้อีกครั้ง หลังจากที่พ่ายแพ้อย่างหมดรูปไปเป็นเวลานานถึงเกือบสิบปี ณ วันนี้ ฟอร์ดและไครส์เลอร์กำลังก้าวขึ้นเป็นผู้ผลิตรถยนต์ที่ทรงประสิทธิภาพระดับโลก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)