ตลาดรถยนต์ 1800 ซีซี สนามรบใหม่ของ 3 ยักษ์ญี่ปุ่น
ในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา แวดวงธุรกิจยานยนต์ในประเทศไทย ได้มีโอกาสสัมผัสความคึกคักอีกครั้งเมื่อบริษัทผู้ผลิตรถยนต์จาก
ประเทศญี่ปุ่น 3 ราย ได้ให้ความสนใจที่จะดำเนินกลยุทธ์เชิงรุก ด้วย การเปิดตัวรถยนต์รุ่นใหม่
ที่มีรูปลักษณ์ใหม่ในขนาดความจุเครื่องยนต์ 1800 ซีซี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
ยอดขายรถปี 43 โต 20% โตโยต้ายังครองแชมป์
ปี 2543 เป็นปีที่อุตสาหกรรมยานยนต์ได้แสดงสัญญาณของการฟื้นตัวขึ้นมาอย่างเห็นได้ชัด
แม้ยอดขายรถยนต์รวมทุกประเภทจะไม่สูงถึง 280,000 คัน ตามที่ได้มีการคาดหมายไว้ในช่วงต้นปี
แต่ยอดขายรวม ณ สิ้นปีที่มีถึง 262,250 คัน ก็จัดอยู่ในระดับที่ทุกคนในอุตสาหกรรมนี้พอใจ
เพราะเมื่อคิดเป็นอัตราส่วนแล้วยังเพิ่มสูงขึ้นจากปี 2542 ถึง 20.12%
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
ยอดส่งออกยานยนต์ ครึ่งปีแรกเพิ่ม 34%
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประกาศยอดการผลิตรถยนต์รวมในช่วงครึ่งแรกของปี 2543 เพิ่มสูงขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 43.12% และมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น 33.92%
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ถึงเวลาหาคู่
ผลกระทบจากการรวมตัวกันของ ผู้ผลิตยานยนต์ รวมถึงการจัดหาส่วนประกอบจากผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งเพื่อใช้ในการผลิตทั่วโลก ส่งผลให้ผู้ผลิตชิ้น ส่วนประกอบยานยนต์ในประเทศไทย จำเป็นต้องรวมตัวกับผู้ผลิตชิ้นส่วนรายอื่นๆ ในเอเชีย ในอนาคตผู้ผลิตที่ขาดความชำนาญในด้านวิศวกรรม การออก แบบและงานระบบ จะเป็นผู้ผลิตที่ขาดความสามารถในการแข่งขัน จึงจำเป็นต้องมีการรวมตัวกับผู้ผลิตรายอื่นที่มีความชำนาญในด้านดังกล่าว เพื่อสร้างโอกาสให้ประสบความสำเร็จ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
เปัาหมายไม่ใช่แค่ยอดขายในประเทศ
อุตสาหกรรมรถยนต์จากต่างประเทศ ที่ได้เข้ามาลงทุนในประเทศไทยอย่างต่อเนื่องในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมา เริ่มมีแนวโน้มในการให้ความสำคัญ หรือเพิ่มบทบาทกับผู้บริหารที่เป็นคนไทยมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
อุตสาหกรรมยานยนต์ หมดยุคเถ้าแก่ไทย
ความน่าสนใจของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยในช่วง 2 ปีที่ผ่าน มานอกจากประเด็นที่ว่าแต่
ละค่ายจะแก้ไขวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างไรแล้ว
ประเด็นเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของกลุ่มทุนแห่งอุตสาหกรรมนี้
นับว่าน่าสนใจเช่นกัน และดูเหมือนว่าประเด็นหลังนี้ จะตื่นเต้น เร้าใจ และน่าติดตามยิ่งกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์โลก M&A เป็นทางรอด จริงหรือ?
การควบรวมกิจการในวงการอุตสาหกรรมรถยนต์ทั่วโลกเริ่มขึ้นอีกรอบหนึ่งแล้ว
หลังจากที่เคยมีมหกรรมการควบรวมมาครั้งหนึ่งเมื่อสิบปีก่อน ซึ่งผลที่ออกมาก็สะบักสะบอมกันอยู่หลายราย
กว่าจะได้เก็บเกี่ยวเม็ดกำไร มาครั้งนี้บริษัทที่ประกาศควบรวมกิจการกันมีขนาดใหญ่กว่าครั้งก่อนมาก
หลายรายต้องแบกภาระขาดทุนของพันธมิตร ซึ่งก็ต้องใช้เวลาว่าจะไปรอดกันทั้งสองฝ่ายหรือไม่
หรือจะเป็นดังคำทำนายของคนในวงการว่าท้ายที่สุดจะมียักษ์ใหญ่อยู่แค่ 6 ราย!
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2542)
ค่ายรถอเมริกัน เปิดประเด็นสิ่งแวดล้อม ดึงรัฐซัปพอร์ตอุตสาหกรรมยานยนต์
เพื่อกระตุ้นตลาดรถยนต์ในประเทศให้ตื่นจากภวังค์ ค่ายรถอเมริกันนำโดย General
Motors Corporation และ Ford Motor Company ร่วมกันลงขันเป็นสปอนเซอร์ให้กับสมาคมวิศวกรรมยานยนต์นานาชาติ
(Society of Automative Engineering International : SAE) และศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ
(National Metal and Materials Technology Center : MTEC) ทำการศึกษาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2541)
บางกอก มอเตอร์โชว์' 98 การยกระดับกับการเปิดศึก
การเริ่มต้นงานมอเตอร์โชว์ครั้งใหม่อย่างยิ่งใหญ่ที่เพิ่งจบมาไม่นาน สำหรับปราจิน
เอี่ยมลำเนา ผู้จัดงานแล้ว เขาควรได้รับการปรบมือ ส่วนบริษัทรถยนต์ที่เข้าร่วมงานทั้งหลายคราวนี้มีแต่กล่องเท่านั้น
แต่สิ่งที่นับว่าดีที่สุดก็คือผู้บริโภคในตลาดรถยนต์เมืองไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2541)
ขึ้นสู่ฐานส่งออก "มิตซูบิชิ" แลกกับการปิดตลาดในไทย!?
ทันทีที่ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส คอร์ปอเรชั่นแห่งประเทศญี่ปุ่นแถลงข่าวถึงผลประกอบการในรอบหนึ่งปีที่ผ่านมา
ด้วยแนวโน้มว่าอาจต้องปิดโรงงานผลิตรถยนต์ปิกอัพที่ลาดกระบัง แต่นั่นไม่ใช่เรื่องสำคัญนัก
ยังมีเรื่องน่าขบคิดที่สำคัญจนดูแปลกยิ่งกว่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2541)