ศรีกรุง เริ่มฟื้นจากไข้เพราะญี่ปุ่น
กลุ่มศรีกรุงวัฒนาปรับโครงสร้างกิจการโดยแยกแยะบริษัทในเครือกว่า 40 แห่งออกเป็น
4 ธุรกิจหลัก ปุ๋ยยังเป็นธุรกิจสำคัญที่ทำรายได้อันดับหนึ่งให้แก่กลุ่มฯ
ขณะที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยังไม่รู้อนาคตว่าจะเกิดเมื่อไหร่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
อนาคตบนหลังคาสังกะสีร้อน ๆ ของผาแดงฯ
ช่วงเวลาตั้งแต่ปี 2535-2537 นับว่าเป็นเวลาแห่งการลงทุนขยายโครงการต่าง
ๆ ของบริษัทผาแดงอินดัสทรี ผู้ผลิตสังกะสีรายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย เพื่อลดความเสี่ยงจากธุรกิจสังกะสซึ่งมีราคาไม่แน่นอน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
แผนโอบอุ้มกลุ่มสหวิริยา 10ปี โครงการเหล็กรีดร้อนเย็น2หมื่นล้านบาท
สหวิริยาถือได้ว่าเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในกลุ่มเหล็กรีดซ้ำเพราะทำเหล็กมานานนับ
40 ปี ประสบการณ์ที่ช่ำชองทางด้านนี้ทำให้การเติบใหญ่ของสหวิริยากรุ๊ปมีฐานเป็นนักการค้า
โครงการตั้งโรงงานผลิตเหล็กรีดร้อน รีดเย็นและชนิดเคลือบมูลค่าสองหมื่นล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
อนันตชัย คุณณนันทกุล โอเวอร์ฮีท กับปัญหาย้ายรง.ปากน้ำ
บทบาทของ อนันตชัย คุณานันทกุลในฐานะประธานสภาหอการค้าจังหวัดสมุทรปราการ
บวกกับความเป็นเจ้าของอาณาจักรธุรกิจมูลค่านับพันล้านที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมเหล็ก
"สยามสตีลกรุ๊ป" ทำให้วันนี้อนันตชัยต้องออกมาเต้นคัดค้านนโยบายกระทรวงอุตสาหกรรม
ที่จะย้ายโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการทั้ง 500 แห่ง ซึ่งก่อให้เกิดปัญหามลพิษ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
ซินเนอยี่โรงเหล็กของสวัสดิ์
สวัสดิ์เป็นพ่อค้าเหล็กมีโรงเหล็กที่สร้างจากเล็กมาสู่ใหญ่ด้วยทุนดำเนินการที่เริ่มจากติดลบ
200 ล้าน แต่ด้วยความเป็นนักสู้และมีสมองที่เปิดกว้างทำให้สวัสดิ์ฟื้นฟูธุรกิจโรงเหล็กขึ้นมาได้สำเร็จจากลูกค้าแบงก์
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
ชนินท์ทำดินขาวขอส่วนแบ่งตลาด 10 % ป้อนโรงงานเซรามิค
บริษัท เหมืองบ้านปูน จำกัดของชนินท์ ว่องกุศลกิจ เป็นที่รู้จักดีในธุรกิจถ่านหินแต่เมื่อปี
2530 ได้มีการสำรวจพบแหล่งดินขาวคุณภาพสูงที่ตำบลหาดส้มแป้น จังหวัดระนอง
จึงจัดตั้งบริษัท มินเนอรัลรีซอร์สเซส ดีเวลลอปเมน้ท์ จำกัดขึ้นเพื่อทำธุรกิจดินขาวโดยตรง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2534)
"อุตสาหกรรมเหล็กในประเทศเป็นอุตสาหกรรมทารกที่ไม่มีวันโต"
ช่วงก่อนหน้านี้อุตสาหกรรมเหล็กเส้นอยู่ในภาวะล้นตลาดด้วยซ้ำไป เมื่อเศรษฐกิจตกต่ำเมื่อ 10 ปีที่แล้ว แต่ว่าตอนนี้เศรษฐกิจขยายตัวไปเร็วมากในช่วง 4-5 ปี อุตสาหกรรมเหล็กเส้นก็ขยายตัวไม่เพียงพอต่อความต้องการ กำลังการผลิตในประเทศน้อยมากเทียบกับความต้องการใช้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
การต่อสู้ของราชาเครื่องจักรกล
"คนเราต้องใช้ชีวิตอยู่กับสิ่งสองสิ่ง คือ ความทุกข์กับความสุข ถ้าใช้ความทุกข์เสียก่อนและความสุขให้ภายหลังเหมือนการเรียนรู้ยากเสียก่อนและเรียนความง่ายภายหลัง
ซึ่งเป็นเรื่องธรรมชาติ ถ้าทุกข์มาพอควรแล้ว จะเพิ่มหรือลดก็รับได้"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
แบงก์กรุงเทพฯ พาณิชย์การ VS เอื้อวิทยาฯ ชาวนากับงูเห่า?!?
ค่าเสียหายจำนวน 501,190 ล้านบาทที่เอื้อวิทยาฯเป็นโจทก์ฟ้องเรียกร้องจากธนาคารกรุงเทพฯพาณิชย์การผู้เป็นจำเลย
ทำให้คดีนี้ถือเป็นคดีประวัติศาสตร์คดีหนึ่งในประวัติการฟ้องร้องตามขั้นตอนศาลของไทย
ทั้งนี้เมื่อคำนวนดูสินทรัพย์ของธนาคารกรุงเทพฯ พาณิชย์การซึ่งจำเลยส่วนมากต่างเป็นผู้บริหารในธนาคารแห่งนี้นั้น
มีเพียงกระผีกของวงเงินค่าเสียหายกว่าห้าแสนล้านบาทที่โจทก์เรียกร้อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)
"ทำความรู้จักโจทก์แสนล้าน!"
ผู้ก่อตั้งกลุ่มเอื้อวิทยาฯ คือประมุขของตระกูลชื่อนายใช้ เอื้อวิทยา เสียชีวิตเมื่ออายุ
52 ปี ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อสงครามฯ สงบบรรดาลูก ๆ ก็ ดำเนินกิจการต่อ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2533)