วีระชัย ลีลาประชากุลในยามไทย-เยอรมันโปรดักส์ฮึดเหิมสุดขีด
วีระชัย ลีลาประชากุล ทายาทคนสำคัญของตระกูลลีลาประชากุล เปิดเกมรุกให้กับ "ไทย-เยอรมัน โปรดักส์" อีกครั้งหลังจากบริษัทได้เข้าจดทะเบียนและทำการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อเดือนมกราคม 2538 ที่ผ่านมา ซึ่งครั้งนั้นนับเป็นมิติใหม่ของกลุ่มทุนแห่งตระกูลนี้ทีเดียว เพราะเป็นครั้งแรกที่เลือกส่งบริษัทในกลุ่มเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ ทั้งที่ดำเนินธุรกิจมากว่า 20 ปี ด้วยทุนส่วนอื่นตลอด
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
"เปิดเสรีโรงเหล็ก ศึกนี้สหวิริยา แพ้ไม่ได้ !!"
โครงการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนและรีดเย็นของสหวิริยาสตีล มีมูลค่าการลงทุนมหาศาล และมีความสำคัญต่ออนาคตของสหวิริยาเป็นอย่างมากเพราะเป็นจุดเปลี่ยนที่จะก้าวกระโดดจากความเป็นผู้ค้าเหล็ก ขึ้นสู่ฐานะผู้ผลิตอย่างเต็มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"แผ่นเหล็กวิลาสไทย ลิ่มตอกตลาดหลักทรัพย์ฯ"
บริษัทแผ่นเหล็กวิลาสไทย เป็นกรณีตัวอย่างของบริษัทที่ยื่นขอเพิกถอนหุ้นออกจากตลาดหลักทรัพย์ไทยอย่างมีปัญหา
และให้บทเรียนอันเจ็บปวดแก่ผู้ถือหุ้นรายย่อย จากความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นนี้ทำให้ ก.ล.ต. ต้องยื่นมือเข้ามาแทรกแซงบทบาทของเสรี จินตนเสรี จนกลายเป็นปมปัญหาที่ทางการต้องเร่งยุติข่าวขัดแย้งทางการเมืองที่ส่งผลลบต่อสถาบันตลาดทุนอย่างไม่เคยมีมาก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2537)
"ไทยน็อคซ์ : กลวิธีผูกขาดในธุรกิจเหล็กไร้สนิม"
โครงการผลิตเหล็กไร้สนิมของไทยน็อคซ์ สตีลซึ่งเป็นกลุ่มธุรกิจ 1 ใน 3 ที่ได้รับบัตรส่งเสริมการลงทุนจากบีโอไอมีความคืบหน้าไปมากกว่ากลุ่มสยามสตีลไพพ์และกลุ่มสยามสตีล
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
ยูยีน…อาวุธลับของประยุทธ
เอ่ยชื่อของ "ยูยีน เอส เอ" ยักษ์ใหญ่วงการเหล็กจากฝรั่งเศสที่เข้ามาสู่เมืองไทยด้วยการร่วมทุนกับประยุทธ
มหากิจศิริ เจ้าของผลิตภัณฑ์ "เนสกาแฟ" เพื่อตั้งโรงงานผลิตเหล็กไร้สนิมในไทยนั้น
แม้จะไม่เป็นที่รู้จักกันดีสำหรับคนนอกวงการเหล็ก แต่สำหรับคนวงในแล้ว เป็นที่รู้กันว่า
นี่คือผู้ผลิตเหล็กที่ใหญ่รายหนึ่งของโลก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"เหล็กไร้สนิม เหล็กไร้ขีดจำกัดความต้องการ"
โครงการของไทยน็อคซ์ ที่ได้รับการส่งเสริมเพื่อผลิตเหล็กไร้สนิมในตอนเริ่มนั้น
ยังคงเป็นที่สงสัยกันว่าเป็นโครงการที่มีความคุ้มทุนหรือไม่ เมื่อเทียบกับโครงการลงทุนอื่นๆ
ในยุคที่เศรษฐกิจบูม
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"พีเอ็มกรุ๊ป…ความใหญ่ในหลายธุรกิจ"
"พีเอ็มก็คือผม ประยุทธ มหากิจศิริ" ประยุทธ มหากิจศิริ ประธานกลุ่มพีเอ็ม
กล่าวกับ "ผู้จัดการ" เมื่อถูกถามถึงความหมายของพีเอ็มกรุ๊ป ที่เริ่มเข้าไปมีบทบาทมากในหลายๆ
วงการธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
"สยามสตีลกรุ๊ป โตแบบจอยน์เวนเจอร์"
บนเวทีการค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ สยามสตีลกรุ๊ปแสดงบทบาทผู้ใช้เหล็กรายใหญ่ที่สุดของประเทศ
มีโครงการจะลงทุน BACKWARD INTEGATION ในโครงการเหล็กพรุน และตั้งใจจะเป็น
FORWARD ROLLING MILL CENTER ความฝันถึงโครงการเหล็กสมบูรณ์แบบเป็นเรื่องที่คนในวงการหัวเราะเงียบ
ๆ อย่างไม่น่าเป็นไปได้ แต่สยามสตีลกรุ๊ปกำลังท้าพิสูจน์ว่าเขาทำได้!!
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
วันชัย คุณานันทกุล ส่งออกคอนเทนเนอร์ทั่วโลก
"เวลา-วารีมักไม่คอยใคร" วันชัย คุณานันทกุล เจ้าของกลุ่มสยามสตีลก็คิดเช่นนั้นแทนที่จะนั่งรถ
วันชัยกลับขับเรือเร็วลำเล็กชื่อ "สยามสตีล" วิ่งฉิวตัดกระแสน้ำเจ้าพระยามุ่งหน้าสู่โรงแรมแชงกรี-ลา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)