ล้อมคอกก่อนเครื่อง (บิน) ตก
ล้อมคอก "ก่อนเครื่อง (บิน) ตก" เป็นภารกิจสำคัญ ของ Marion Blakey ผู้นำคนใหม่ขององค์การบริการการบินสหรัฐอเมริกา หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า "FAA" (The Federal Aviation Administration) ซึ่งเพิ่งเข้ามารับตำแหน่งนี้ได้เพียงปีเศษ หลังจากเหตุการณ์วินาศกรรม 11 กันยายน เมื่อ 2 ปีที่แล้ว โดยการแต่งตั้งจากประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
สายการบิน Swiss อาการน่าเป็นห่วง
สายการบินแห่งชาติของ Switzerland ส่ออาการปีกหักรอบสอง หลังฟื้นคืนชีพได้เพียงปีเดียว ถ้าพูดถึงสายการบินที่กำลังขาดทุนมหาศาลหลายร้อยล้านดอลลาร์ มีปัญหาการผลิตล้นเกิน
และปัญหาการบริหารจัดการ คุณอาจนึกไปถึงสายการบินอเมริกัน ที่ขณะนี้กำลังปั่นป่วนวุ่นวายกันไปทั้งอุตสาหกรรม
จากพิษก่อการร้ายและโรค SARS แต่ไม่ใช่ เรากำลังพูดกันถึงอุตสาหกรรมการบินของยุโรป
และสายการบินที่อ่อนแอที่สุดแห่ง หนึ่งของยุโรป นั่นคือ สายการบิน Swiss
International Air Lines
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
Winding Down of Concorde Era
"คองคอร์ด Concorde" เป็นยิ่งกว่าเครื่องบินที่บินเร็วกว่าเสียง (supersonic jet) มันเป็น "ความฝัน" ที่อาจเป็นจริงเมื่อคุณรวยพอจะซื้อที่นั่ง round trip ราคาแพงระยับถึง 6,980 ดอลลาร์สหรัฐ (286,000 บาท)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ภูเก็ตแอร์ สีสันใหม่ของภูเก็ต
เกาะภูเก็ต เมืองที่มีถึง 19 หาด 39 เกาะ ในเมืองไทยยังเป็น ชื่ออันดับต้นๆ
ของนักท่องเที่ยวทั่วโลกที่จะต้องบินมาเที่ยวให้ได้สักครั้งหนึ่ง ดังนั้นจึงไม่แปลกเลยว่าทุกวันนี้การบินไทยมีเที่ยวบินตรงจากกรุงเทพฯ
ถึงภูเก็ตไม่ต่ำกว่า 12 เที่ยวบินต่อวัน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
ปีฝันร้ายของธุรกิจการบิน (และธุรกิจต่อเนื่อง)
หมดความหวังว่าธุรกิจนี้จะสามารถทำเงินได้ดีอีกต่อไป
รวมถึงธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องอีกหลายสิบอย่าง เช่น ธุรกิจทัวร์ ธุรกิจโรงแรม
ธุรกิจบ้านพัก ตากอากาศ ธุรกิจเรือสำราญ ธุรกิจสนับสนุนการดำเนินงานในเครื่องบิน
และ ฯลฯ
หลังเหตุการณ์ 11 กันยายน ธุรกิจการบินได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง
ทั้งหมดมีอาการทรุด และเมื่อกำลังตีตื้นขึ้นมาเป็นทรงตัว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
เครื่องรุ่นใดควรระวัง
ถึงแม้โชคชะตาจะมีส่วนลิขิต เพราะเครื่องบินนั้นไม่ได้ตกกันบ่อยๆ และการก่อการร้ายก็ยังเป็นสิ่งที่คาดเดาไม่ได้
แต่ก็มีเหตุอื่น ที่ช่วย ลดอุบัติเหตุให้ตัวท่านได้ มีเครื่องบิน บางรุ่นที่ทำสถิติตกและพลาดจนน่าหวาดเสียว
และมีสายการบินบางสายที่เลินเล่อในการอบรมนักบิน จนมีเหตุบ่อยๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
สายการบินไหนอันตราย
ทางด้าน Fatel Rate ของสายการบินนั้น สายการบินที่มีอัตราความไม่ปลอดภัยสูงสุด
คือ สายการบิน คิวบาน่า อัตราสูงถึง 18.93 สายการบิน แอร์ ซิมบับเว อัตรา
11.54 สายการบิน ละติน แอโร เปรู อัตรา 9.7 สายการบิน รอยัล จอร์แดน อัตรา
7.99 อียิปต์ แอร์ 7.33 ไชน่า แอร์ไลน์ อัตรา 6.04 แอร์ TAM( ละติน) 5.68
THY(ยุโรป) 5.92 แอร์ อินเดีย 4.89 ปากีสถาณ แอร์ไลน์ 3.84 อินเดียน แอร์ไลน์
อัตรา 3.53 ไนจีเรีย แอร์เวย์ 3.07 อเวียงก้า โคลอมเบียน อัตรา 3.01 ส่วนสายการบินไทยนั้น
อยู่ที่ 1.60 ซึ่งถือเป็นอัตราค่อนข้างดี ที่ผ่านมามีอุบัติเหตุสองครั้ง
ครั้งสุดท้ายในปี 1988
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
DD คนใหม่ "การบินไทย" กับภารกิจสำคัญที่รออยู่
21 กันยายน คณะกรรมการ บริษัทการบินไทย ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ 12 เสียง คัดเลือกพิสิฐ กุศลาไสยานนท์ ขึ้นเป็นกรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่ (DD) คนใหม่
ถือเป็น DD คนที่ 3 ที่ก้าวขึ้นมาจากลูกหม้อของการบิน ไทยเอง ภายหลังจากกองทัพอากาศ ปล่อยมือจากการผูกขาด ตำแหน่งดังกล่าวลงในปี 2535
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
แองเจิล แอร์ ได้เวลาหยุดดูตัวเอง
14 มิถุนายนที่ผ่านมา สายการบินแองเจิล แอร์
ซึ่งได้รับอนุมัติให้เป็นสายการบินแห่งชาติ สายที่ 2
ได้ประกาศหยุดบินเป็นการชั่วคราว
หลังจากเริ่มเปิดการบินมาได้เพียงไม่ถึง 2 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
ทิศทางตลาดเครื่องยนต์อากาศยาน ย่านเอเชียแปซิฟิก ในมุมมองของโรลส์รอยซ์
เซอร์ ราล์ฟ โรบินส์ ประธานกรรมการ โรลส์รอยซ์ พีแอลซี ซึ่งเป็นผู้ผลิตเครื่องยนต์อากาศยานรายใหญ่อันดับสองของโลก คาดการณ์ว่าสายการบินในเอเชียแปซิฟิกจะเป็นผู้ใช้งานเครื่องบินโดยสารขนาดใหญ่มากที่สุด และจะเป็นกลุ่มที่รับมอบ เครื่องบินขนาดลำตัวกว้างในอัตราสูงถึง 41% ของการส่งมอบทั้งหมด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)