I Believe I Can FLY...
วันที่ 19 มีนาคม 2550 ที่ผ่านมา หนังสือพิมพ์จีนแทบทุกฉบับต่างรายงานข่าวใหญ่เกี่ยวกับมติของคณะรัฐมนตรีจีนที่อนุมัติให้ดำเนินโครงการระยะยาวเพื่อสร้างเครื่องบินขนาดใหญ่ในเชิงพาณิชย์ โดยมีการตั้งบริษัทขึ้นมารองรับการดำเนินงานของโครงการนี้ด้วย...
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2550)
Hobby + Business = Passion2
อาจถือเป็นความสามารถพิเศษที่ควรค่าแก่การลอกเลียนแบบของไฮเนคกี้ เพราะเขาสามารถนำ "passion" หรืองานอดิเรกเข้ามาผสานกับการทำธุรกิจของเขาได้อย่างแนบเนียน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2550)
ประวัติของ CATHAY PACIFIC เริ่มต้นจากเงินเหรียญเดียว
CATHAY PACIFIC Airline หรือ CX หรือ CPA เกิดที่ฮ่องกง เมื่อ 24 กันยายน 1946 มีฮ่องกงเป็น Hub ใหญ่ และ secondary hub อยู่ที่สนามบิน Taiwan Taoyuan International Airport ถือเป็น Flag carrier ของฮ่องกงที่มีบริการระดับห้าดาว โดยเส้นทางบินมีจุดหมายปลายทางทั่วโลก 102 แห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
Silver Wing ของ CATHAY PACIFIC กับยานทัศนะศตวรรษที่ 21
เป็นที่น่าสนใจว่า 60 ปีของสายการบิน CATHAY PACIFIC ที่เติบโตมาได้จนถึงทุกวันนี้ พวกเขาทำอย่างไรจึงสามารถผนวกความเก่งกาจของคนและวัฒนธรรมองค์กร เข้ากับความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำไปสู่แรงบันดาลใจที่จะสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและเป็นที่ยอมรับในระดับสากลได้?
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2549)
จะให้การบินไทยเป็นอะไรดี?
"ความที่เป็นองค์กรของรัฐ นโยบายและทิศทางขององค์กรจึงไม่มีแผนแม่บทที่ชัดเจนว่าควรจะมีภารกิจอะไรบ้าง และมักเปลี่ยนไปตามรัฐบาลยุคนั้นสมัยนั้น และด้วยความผิดที่ผิดทางมาทุกยุคทุกสมัยของนโยบายเหล่านี้นี่เอง ทำให้วันนี้หลงเหลือแต่ความภาคภูมิใจให้กับคนไทยว่า "การบินไทย คือสายการบินของไทย"
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
อันดับใน "ผู้จัดการ 100"
ตลอดระยะเวลาของการจัดอันดับบริษัทที่มียอดรายได้รวมสูงสุดในจำนวนบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยของ "ผู้จัดการ" หรือ "ผู้จัดการ 100" ทั้ง 6 ปีที่ผ่านมา การบินไทย สามารถขึ้นเป็นบริษัทที่ครองอันดับหนึ่ง ในดัชนี "ผู้จัดการ 100" ได้สำเร็จในปี 2543
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
46 ปี THAI ยังบินหลงเป้า?
"ผู้จัดการ" เคยนำเสนอเรื่องของ "การบินไทย" มาหลายต่อหลายครั้ง และแทบจะไม่มีครั้งไหนเลยที่จะไม่กล่าวถึงปัญหาของสายการบินแห่งชาติแห่งนี้ ที่เขียนกี่ครั้ง กี่ครั้ง ก็ยังเป็นปัญหาเดิม
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
เก่าไปใหม่มา
ผู้บริหารของการบินไทย ทายาทผู้ก่อตั้งบริษัททั้ง 7 รวมทั้งสื่อมวลชน และพนักงานของการบินไทย ต่างนั่งและยืนแน่นขนัดโถงชั้น 1 อาคารสำนักงานใหญ่การบินไทย บนถนนวิภาวดี เพื่อร่วมเป็นสักขีพยานในการแถลงข่าวโอกาสครบรอบ 46 ปีการก่อตั้งบริษัทการบินไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
ภารกิจแรกของอภินันทน์ สุมนะเศรณี
แม้การบินไทยเพิ่งจะได้เรืออากาศโทอภินันทน์ สุมนะเศรณี มานั่งเก้าอี้กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ หรือดีดี คนที่ 14 เป็นที่เรียบร้อย เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคมที่ผ่านมา แต่ปัญหาที่หมักหมมอยู่ในองค์กรแห่งนี้ก็ยังคงอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
มดกับช้าง ใครได้ใครเสีย?
ด้วยเหตุผลใดจึงทำให้งานแถลงข่าวการลงนามบันทึกความตกลง (MOU) ด้านการบินและการพาณิชย์ร่วมกัน ระหว่างบริษัทการบินไทยและบริษัทการบินกรุงเทพ หรือบางกอกแอร์เวย์ส เมื่อวันที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา ถึงเกิดขึ้นได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)