ศึกชิงเก้าอี้ ฉัตรชัย บุญยอนันต์ จะเล่นแบบไทยๆ หรือระบบสากล
เอ็นจอยปากกันหนาหูว่าเก้าอี้ผู้อำนวยการใหญ่ฝ่ายการตลาดของการบินไทยที่
ร.ต.ท. ฉัตรชัย บุณยอนันต์ รักษาการอยู่ควบคู่กับตำแหน่งรองผู้อำนวยการใหญ่
ควรที่จะถึงเวลาผลัดเปลี่ยนเสียทีหรือยัง ซ้ำร้ายยังมีข่าวลืออีกว่า เรื่องราวต่าง
ๆ ในการบินไทยกลายเป็นเรื่องของขบวนการมาเฟียไปเสียแล้ว ลือเสียจน ปปป. เองก็ทนไม่ได้ที่จะต้องให้ความสนใจ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
40 ปี คาเธ่ย์แปซิฟิค 30 ปี เจ เอ แอล
ช่วงเดือนที่ผ่านมานี้กิจกรรมของสายการบินต่าง ๆ ออกจะคึกคักเป็นพิเศษ
ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณา, การแถลงข่าวหรืองานเลี้ยงรับรอง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
เบลล์ราคา 33 ล้านเหรียญยูเอส ฝันที่เกือบสลายของกองทัพเรือและพ่อค้าอาวุธ
เฮลิคอปเตอร์เบลล์นั้นคนไทยค่อนข้างจะคุ้นเคยมาก เพราะนอกจากจะมีใช้กันมากที่สุดทั้งในกองทัพไทยหน่วยราชการอีกหลายหน่วยแล้ว
นาน ๆ ทีก็มีข่าวการประสบอุบัติเหตุให้ได้ทราบอีกด้วย ไม่นานมานี้กองทัพเรือต้องการจะซื้อเบลล์จำนวน
5 เครื่อง แล้วก็มีข่าวว่ากลาโหมไม่เห็นด้วยกับวิธีจัดซื้อซึ่งอุปสรรคนี้นอกจากผู้ที่ทุกข์ร้อนจะได้แก่กองทัพเรือ...พ่อค้าอาวุธเองก็ไม่สบายใจมาก
ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
30 ปี JAL ในไทยยิ่งบิน ยิ่งสูง
ตั้งแต่เปิดสำนักงานขึ้นที่กรุงเทพฯ วันแรกจนถึงปี 2529 นี้ เจแปนแอร์ไลน์ดำเนินธุรกิจการบินในประเทศไทยมาได้
30 ปีแล้ว ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาถึงจะพบอุปสรรคบ้าง มีปัญหาบ้าง แต่เจเอแอลก็ได้พัฒนาและขยายขอบข่ายงานให้ก้าวหน้าและกว้างขวางยิ่งขึ้นเสมอมา...
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2529)
ธีระชัย เชมนะสิริ กับโอกาสที่เปิดกว้างให้เขา
ธีระชัย เชมนะสิริ จบบีเอ็มเอจากสถาบันเอไอเอ็มแห่งประเทศฟิลิปปินส์ เคยดำรงตำแหน่งบริหารที่บริษัท
เชลล์ ประเทศไทย บริษัท อิตาเลียนไทย และบริษัท ปูนซิเมนต์ไทยเป็นที่ล่าสุด
ก่อนจะลาออกมา "แคนดิเคท"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
เมื่อทัศนียา ทวงความยุติธรรมจาก SAS
ทัศนียา ปริวุฒิพงศ์รอมา 16 เดือนเต็มๆ ด้วยความขมขื่นและเจ็บช้ำน้ำใจ
โดยธรรมชาติแล้วทัศนียาเป็นผู้หญิงตัวเล็กๆ คนหนึ่งที่ใครคุยด้วยจะรู้สึกทันทีว่าเป็นคนไม่มีพิษภัย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)
ข้อเรียกร้องของทัศนียา
เงินเดือนล่าสุดของทัศนียา 15,000 บาท โดยบริษัทเป็นผู้เสียภาษีเงินได้ให้ทั้งหมด
เมื่อถูกเลิกจ้าง เธอฟ้องร้องต่อศาลแรงงาน ให้บริษัทรับเธอเข้าทำงานในตำแหน่งและอัตราจ้างเท่าเดิม
โดยถือเสมือนว่าไม่เคยมีการเลิกจ้าง และต้องจ่ายค่าจ้างในระหว่างถุกเลิกจ้างด้วย
หรือมิฉะนั้นก็ให้บริษัทชดใช้ค่าเสียหายให้ดังต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)
กรณี SAS–ทัศนียา ปริวุฒิพงศ์ บทเรียนทั้งเจ้านายกับลูกจ้างที่ต้องเรียนรู้ไปคนละแบบ
จากการติดตามความขัดแย้งทางแรงงานระหว่างทัศนียา ปริวุฒิพงศ์ กับบริษัทข้ามชาติเช่น SAS นั้นพอจะทำให้ “ผู้จัดการ” มีข้อคิดมาให้วิพากษ์วิจารณ์กันต่อไปได้พอสมควร ธรรมดาแล้ว LABOUR CONFLICT ในระดับ WHITE COLLAER อย่างกรณีเช่นนี้มักจะไม่ค่อยเกิดขึ้นและก็มีน้อยมากๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างลูกจ้างระดับบริหารคนไทยกับนายจ้างที่เป็นบริษัทฝรั่งข้ามชาติเช่น SAS
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)