สนามบินภูเก็ต….วันนี้ไม่ใช่เมื่อวาน 500 ล้านกับ ILS
เมื่อคณะกรรมาธิการคมนาคม "เบรก" การจัดซื้อเครื่องช่วยการเดินอากาศ
สำหรับนักบินในการนำเครื่องบินร่อนลงสู่สนามบิน ระบบ ILS (INSTRUMENT LANDING
SYSTEM) ของกรมการบินพาณิชย์มูลค่า 500 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
ปฏิวัติน่านฟ้าบินเสรี "ฝันแห้ง ๆ" เหนือก้อนเมฆ
วิกฤตการณ์เครื่องบินดีเลย์และอัตราการจองที่นั่งที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วที่การบินไทยประสบเมื่อปลายปี
2531 คาบเกี่ยวมาถึงต้นปี 2532 เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การเข้ามามีบทบาทอีกครั้งของธุรกิจการบินภายในประเทศของภาคเอกชน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
การบินไทยของใครกันแน่?!
เมื่อพลอากาศเอกวีระ กิจจาทร ก้าวขึ้นมากุมบังเหียนการบินไทย มีการเปลี่ยนแปลงมากมายหลายประการ
คำสั่งสายฟ้าแลบโยกย้ายผู้บริหารระดับ "บิ๊ก" พร้อมกันหลายคน เป็นสิ่งซึ่งไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติศาสตร์
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
วีระ กิจจาทร เขาคือ ดอน กีโฮเต้
"พูดกันอย่างชายชาติทหาร ถ้าเขารู้จักพอกัน แล้วหันหน้ากลับมาทำงานกัน
เขาเป็นคนมีประโยชน์มาก และผมต้องการเขา" วีระเปิดใจกับ "ผู้จัดการ"
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารของ 11 สายการบิน
ผลการประกอบการในรอบสิบปีของการบินไทย 2520-2530 (โปรดดู TEN-YEAR REVIEW)
จะพบว่าการบินไทยเป็นรัฐวิสาหกิจที่เติบโตขึ้นในทุกด้านสามารถทำกำไรได้อย่างต่อเนื่อง
มีเพียงช่วงปี 2523-2525 กำไรลดลงเหลือ 106.7, 39.1, 26.3 ล้านบาท ซึ่งเหตุผลหลักที่ใช้ในการอธิบายก็เป็นเรื่องของภาวะการบินตกต่ำทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
อบาคัส หยุดไว้ก่อน!
เรื่องของเทคโนโลยีขั้นสูงทางด้านที่ถูกนำมาใช้กับระบบการสำรองที่นั่งของสายการบิน
เป็นเรื่องใหม่สำหรับเมืองไทยที่มีคนรู้เรื่องอยู่แทบจะนับตัวได้ หนำซ้ำการบินไทยเจ้าของเรื่องก็กลับกลายทำยึกยักอมพะนำไม่ยอมชี้แจ้งแถลงไขให้กระจ่าง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
การท่าฯในสถานการณ์รุกฆาตการบินไทย
ถ้าเทียบเคียงเรื่องนี้กับสตาร์วอร์ก็ต้องบอกว่าผ่าน EMPIRE STRIKESBACK
มาแล้ว คือสภาพที่การบินไทยฮุบกิจการบริการที่ท่าอากาศยานกรุงเทพมาผูกขาด
สังเวยให้กับธุรกิจของตนชนิดมุ่งแต่ประโยชน์ส่วนตนปัจจุบันก็มาถึงตอน RETURN
OF THE JEDI คือ ทอท.
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)
"ในยามแผ่นดินกำลังเปลี่ยนแปลง ทำไมไปเปลี่ยนทหารเอกกันมากมาย"
ในทางทฤษฎีที่เกี่ยวกับโครงสร้างอำนาจหน้าที่ในองค์การ ซึ่งหมายถึงการใช้อำนาจตัดสินใจใช้ทรัพยากรเพื่อดำเนินธุรกิจให้บรรลุผลประโยชน์แห่งองค์การ จะมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องอยู่สามส่วนคือ บุคคลผู้ใช้อำนาจหน้าที่ โครงสร้างซึ่งหมายถึงขอบเขตของกลุ่มทรัพยากรที่จะให้ผู้มีอำนาจใช้ปฏิบัติและส่วนสุดท้ายคือ
เป้าหมายวัตถุประสงค์ขององค์การ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2532)