บริหารวิถีตะวันออก
หลายคนมักได้ยินเสมอว่า บริษัทที่บริหารโดยครอบครัว มักเริ่มก่อร่างสร้างตัวด้วยรุ่น 1 ส่วนรุ่น 2 ขยายธุรกิจให้เจริญเติบโต แต่ไปสู่จุดจบในรุ่น 3
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2555)
ตลาดลำไยในจีน
ประเทศจีนมีอัตราการเติบโตของจีดีพี 8 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากความต้องการอุปโภคบริโภค ทำให้ตลาดประเทศไทยได้รับผลดีในการส่งออกสินค้า โดยเฉพาะธุรกิจไม้ค่อนข้างได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และหนึ่งในนั้นก็คือ ลำไย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
จีน: ตลาดส่งออกที่น่าจับตามอง
แม้ว่าในปัจจุบันประเทศไทยจะมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 2.5 ของมูลค่าการนำเข้าสินค้าอาหารทั้งหมดของจีน แต่จีนมีการนำเข้าสินค้าอาหารจากไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อัตราการขยายตัวในการส่งออกสินค้าอาหารของไทยไปยังตลาดจีนมีแนวโน้มอยู่ในเกณฑ์สูงมาตั้งแต่ปี 2552
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
จานด่วน 10 บาท
แม้ประเมินกันว่าเหตุการณ์น้ำท่วมในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อธุรกิจอาหาร โดยตลาดอาหารที่มีมูลค่าประมาณ 1.95 แสนล้านบาท ตกลงกว่า 40% หรือหายไปกว่า 78,000 ล้านบาท ประเมินจากร้านอาหารทั่วไปที่มีจำนวนกว่า 250,000 ร้านทั่วประเทศ ได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำท่วมกว่า 40-50% เป็นร้านอาหารในกรุงเทพฯ กว่า 1 แสนร้าน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2555)
เน็กซ์สเต็ป เบทาโกรช็อป หา “จุดต่าง” สู้ยักษ์
เบทาโกรช็อปไม่เหมือนซีพี เฟรชมาร์ท ผมไม่ได้ทำให้เหมือนกัน ผมต้องการทำให้ต่างกัน...วสิษฐ แต้ไพสิฐพงษ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่สายงานปฏิบัติการกลุ่มธุรกิจ เครือเบทาโกร ตอบทันทีที่ถูกถามถึงกลยุทธ์การต่อสู้กับคู่แข่งยักษ์ใหญ่อย่างเครือเจริญโภคภัณฑ์ (ซีพี)
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
เอสเพียว-ไฮมีท Message ชิ้นสำคัญ
อดีตที่เบทาโกรยังอยู่ในยุคการค้าขายแบบเดิมๆ ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการสร้างแบรนด์ บริษัทลูกในเครือผลิตสินค้าก็ใช้แบรนด์ตามชื่อบริษัท ตั้งแต่เบตเตอร์ฟู้ด บีเอฟ บีเอฟไอ บีเอฟเอ็ม แต่วันหนึ่งแบรนด์ที่สะเปะสะปะทำให้ความแข็งแรงทางการตลาดลดลงจนเข้าสู่ยุครีแบรนดิ้ง ส่ง 2 แบรนด์ใหม่ “ไฮมีท” และ “เอสเพียว” เข้ามารุกพร้อมจัดเซกเมนต์ผู้บริโภค เพื่อเพิ่มมูลค่าแบรนด์พุ่งพรวดหลายเท่าตัว
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
อำพลฟูดส์รุกชิงพื้นที่การตลาด
อำพลฟูดส์รุกหน้าชิงสัดส่วนพื้นที่การตลาด ส่ง 3 สินค้า นวัตกรรมใหม่ตอบโจทย์ผู้บริโภค หวังโกยรายได้ไตรมาสหลังกว่า 150 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2554)
ทำธุรกิจวาซาบิ คิดแบบนักเคมี
“วาซาบิ” ขึ้นชื่อว่าเป็นราชาแห่งสมุนไพรของประเทศญี่ปุ่น ที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย แม้ว่าวาซาบิจะมีต้นกำเนิดมาจากดินแดนปลาดิบ แต่ผู้ผลิตและส่งออกรายใหญ่ที่ป้อนคนญี่ปุ่นกว่า 60 ล้านคน มาจากบริษัทไทย
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2554)
UNILEVER รุกตลาดอาหาร
ยูนิลีเวอร์ ฟู้ดโซลูชั่นส์ กลุ่มธุรกิจฟู้ดเซอร์วิสในเครือยูนิลีเวอร์ เดินหน้าลุยปี 2554 เปิดวิสัยทัศน์ใหม่ทั่วโลกภายใต้คอนเซ็ปต์ “สร้างสรรค์ทุกแรงบันดาลใจ” สบช่องผู้บริโภคไทยกินข้าวนอกบ้านมากขึ้น พลิกโฉมการดำเนินธุรกิจครั้งใหญ่ในรอบ 20 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2554)
อาหารไทยยังขยายตัวได้ในญี่ปุ่น
ญี่ปุ่นนับเป็นหนึ่งในตลาดส่งออกที่สำคัญของไทยมาอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นรองเพียงสหรัฐฯ และสหภาพยุโรปเท่านั้น แม้มูลค่าการส่งออกของไทยไปยังญี่ปุ่นจะชะลอตัวลงบ้างในปี 2552 จากผลของวิกฤติเศรษฐกิจโลกช่วงปลายปี 2551
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)