The Real Universal Banking
ขณะที่ธนาคารพาณิชย์แทบทุกแห่งต่างประกาศตัวกันปาวๆ ว่าจะเบนเข็มไปสู่การเป็น Universal Banking แต่กลับมีธนาคารเพียงไม่กี่แห่งที่มีรูปแบบการดำเนินงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม และผู้บริโภคทุกคนสามารถจับต้องได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
ที่สุดของแบงก์ศรีนคร....ไม่เหลือเชื่อ
"ลูกเอ๋ย...พ่อจะจากเจ้าไปแล้ว เจ้าคือ บุตรหัวปี ภาระครอบครัวจะตกบนบ่า
ทั้งสองของเจ้า น้องๆ อายุยังเยาว์ ต้องอาศัย เจ้าอุ้มชูสมบัติครอบครัวเรา
....ทางที่ดีเจ้าจงเป็นหัวเรือของธุรกิจ อย่าได้แบ่งสมบัติ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า
เจ้าจะดำเนินการได้ดี จงอย่า ทำให้พ่อผิดหวัง" แต้จือปิง ต้นตระกูลเตชะไพบูลย์สั่งเสียบุตรชายคนโต
อุเทน หรือแต้โหงวเล้าไว้ในพินัยกรรมสุดท้าย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)
รวมศรีนคร-นครหลวงไทย เพื่อขยาย-ขายธุรกิจ
ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นมา ชื่อของธนาคารศรีนคร ได้หายไปจากสารบบของธนาคารพาณิชย์ไทย
จากการตัดสินใจของทางการ โดยกระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย ให้ยุบไปรวมกับธนาคารนครหลวงไทย
เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาของระบบธนาคารพาณิชย์ให้เสร็จสิ้นลงไป เพราะตั้งแต่เริ่มเกิดวิกฤติทางการเงินเมื่อเกือบ
5 ปีก่อน ในระบบธนาคารพาณิชย์ ยังเหลืออยู่อีกเพียง 2 แห่งคือ ศรีนคร และนครหลวงไทยเท่านั้น
ที่ยังมีปัญหาอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
"แบงก์ศรีนครกับโทลล์เวย์ วังวนปัญหาการเงินที่แก้ไม่ตก"
สภาพเศรษฐกิจที่ซบเซาในปัจจุบัน นอกจากจะมีผลทำให้ผู้ลงทุนขยายกิจการอย่างมากในระยะ
4-5 ปีที่ผ่านมาโดยการกู้เงินจากธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ ไม่สามารถผุดโครงการขนาดใหญ่ได้อย่างเต็มที่
โครงการเดิมที่ได้ลงทุนไปแล้วก็มีทีท่าว่าจะไปไม่รอดอยู่เหมือนกัน แม้จะเป็นโครงการด้านสาธารณูปโภคที่ถือว่าจำเป็นอย่างยิ่งก็ตาม
สภาวะเช่นนี้ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่กับธนาคารพาณิชย์ ทำให้ต้องประสบปัญหาต่อเนื่องด้วยเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2540)
ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร จากบริษัทเวนเจอร์สู่แบงก์ศรีนคร
ถ้าดูจากประสบการณ์ทำงาน ชื่อของวีระชัย เตชะวิจิตรไม่เคยปรากฏอยู่ในวงการธุรกิจสายแบงก์มาก่อน
แม้ว่าพื้นฐานการศึกษาของเขาจะจบปริญญาเอกสาขาบัญชี/ธุรกิจระหว่าปงระเทศ
จากมหาวิทยาลัยมิสซูรี่-โคลัมเบียก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2536)
เตชะไพบูลย์ : ทางใครทางมัน
แม้ว่า "เตชะไพบูลย์"จะเป็นตระกูลเก่าแก่ที่มีเครือข่ายธุรกิจใหญ่โตระดับแสนล้าน
มีผู้นำของตระกูลที่มีภาพภายนอกเป็นคนที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งใน "เชิงการค้า"
การเป็น "ผู้นำชุมชนจีน" และเป็น "นักบุญ" ที่ช่วยเหลือสาธารณกุศล
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
น้องๆ อุเทน ใครเป็นใคร
แต้จือปิงมีภรรยารวม 3 คนด้วยกัน
ภรรยาคนแรกมีลูก 8 คนคือ อุเทน, กมลา (เสียชีวิตแล้ว), สุเมธ, คำรณ, กานดา,
กาญจนา (เสียชีวิตแล้ว), กัญญารัตน์, อุธรณ์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
อุเทน เตชะไพบูลย์ ขุนแผนจาก "เตี้ยเอี้ย"
"แต้โหงวเล้า" หรือ อุเทน เตชะไพบูลย์ ถือกำเนิดจากอำเภอเตี้ยเอี้ย
มณฑลกวางเจา เป็นลูกชายคนโตของ "แต้จือปิง" ที่เกิดจากภรรยาเมืองจีน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)