เมื่อคนหัวรั้นเจอคนบ้าเลือด
ปี 2527 สำหรับวงการเงินการคลังของประเทศไทย นับได้ว่าเป็นปีที่ไม่เคยมีเวลาให้พักเลย
คนเก่าในวงการบางคนบอกว่า ตั้งแต่สังคมการเงินเติบโตมาเพิ่งจะมีปีนี้แหละที่มีแต่เรื่องเลวร้ายมาตลอด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
ฮ่องกงเริ่มดีวันดีคืนแล้ว “ราคาที่ดินเริ่มแพงขึ้น”
อีกภายในไม่กี่เดือน ซึ่งอาจจะเป็นเวลาก่อนสิ้นฤดูร้อนของปีนี้–อังกฤษและสาธารณรัฐประชาชนจีนจะบรรลุถึงข้อตกลง ที่อังกฤษจะดำเนินการมอบโอนเกาะฮ่องกงให้กับจีน จะยังไม่มีการโอนอย่างถาวรให้กับจีนภายใน 13 ปี ข้างหน้านี้ ในเมื่อกรรมสิทธิ์ในการเช่าเกาะฮ่องกงยังไม่หมดสัญญา แต่เงื่อนไขในรายละเอียดถ้อยคำข้อสมมติฐานที่ยังกล่าวไปได้ไม่สามารถชี้ลงไปได้ และตลอดจนถึงท่าทีของจีนจะเป็นตัวกำหนดวิถีทางเศรษฐกิจของฮ่องกงใน 2-3 ปีข้างหน้านี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2527)
อาราเบียน-ไทย อลเวงยิ่งกว่าสงคราม อิรัก-อิหร่าน
มันเริ่มมาจากการเข้าไปเกี่ยวข้องกับรัฐบาลในยุคพลตรีประมาณ อดิเรกสาร เป็นรองนายกรัฐมนตรี
ก็เลยทำให้ไพโรจน์ เปี่ยมพงษ์สานต์ ผู้ซึ่งมีพ่อตาชื่อประทีป เชิดธรนินทร์
ซึ่งเป็นเลขาพลตรีประมาณ ได้มีโอกาสพบกับชีคอับดุลลาห์ ซาเลห์ อภิอัครมหาเศรษฐีของซาอุดีอาระเบีย
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
คอนนิเนนตัล-อิลลินอยส์บทเรียนที่แบงก์ไทยควรสังวรไว้
มันเริ่มด้วยการยกตัวอย่างในรายการที่ต่อด้วยการซุบซิบ ผสมด้วยความโลภของคนขายพันธบัตร
แล้วผู้สื่อข่าวก็ส่งข่าวออกไป ประกอบกับภาวการณ์ลูกหนี้ที่ไม่ดีบางส่วน
ผลลัพธ์ก็คือ ธนาคารคอนติเนนตัล อิลลินอยส์ ที่มีทรัพย์สิน 41,000 ล้านเหรียญ
(943,000 ล้านบาท) เกือบจะพังพินาศในชั่วคืนเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
แล้วเงินนอกก็สำแดงเดชอีกครั้ง ยุทธการลด TR ได้ 1-2%
เดี๋ยวนี้วันหนึ่งๆ พ่อค้านำเข้าไม่ได้เหนื่อยละเหี่ยเพลียใจกับการเจรจาขอเครดิตแฟกซิลิตี้จากแบงก์อีกต่อไปแล้ว หากแต่ต้องเหนื่อยกับการค้นหาแจ้งความเล็กๆ บนหน้าหนังสือพิมพ์เสียมากกว่า
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
กระบี่เพลงสุดท้ายของบุญชู
สำหรับศัตรูของเขาแล้ว บุญชู โรจนเสถียร เป็นคนที่จะต้องทำลายให้พังพินาศลงไป!
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2527)
สุระ จันทร์ศรีชวาลา MEET THE PRESS
ในเดือนธันวาคม 2526 "ผู้จัดการ" ได้เคยเอาเรื่อง สุระ จันทร์ศรีชวาลา
ขึ้นปก และในเนื้อหาของเรื่องนั้นก็เป็นเรื่องราวความเป็นมา ซึ่งในที่สุดเมื่อวันที่
30 มีนาคม 2527 สุระ จันทร์ศรีชวาลา ก็ได้ให้สัมภาษณ์ครั้งแรกแบบมาราธอน
นาน 3 ชั่วโมง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
บางระจันของนันทาภิวัฒน์
"ผู้จัดการ" ได้ติดตามข่าวคราวของธนาคารแหลมทองมานาน ตั้งแต่ยังไม่เกิดเรื่องเกิดราวขึ้นมา
การติดตามของ "ผู้จัดการ" นั้นอยู่ในประเด็นที่ว่าธนาคารแห่งนี้ บริหารงานกันในรูปแบบใด
ถึงได้ขยับจากอันดับที่ 15 ลงไปเป็นอันดับที่ 16 ได้ หรือพูดง่ายๆ เคยอยู่รองโหล่ทำไปทำมาอยู่อันดับโหล่สุดได้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2527)