บงล.ไอทีเอฟ-โอทีบี.ยามรักน้ำต้มผักก็ยังว่าหวาน แต่…
เย็นวันที่ 6 มิถุนายน 2528 ผู้บริหารของธนาคารโอเวอร์ซีทรัสต์ ฮ่องกง (โอทีบี.)
แจ้งแก่ทางราชการฮ่องกงว่าไม่สามารถประกอบกิจการต่อไปได้ รัฐบาลเมื่อทราบเรื่องประกาศปิดธนาคารทันทีในเย็นวันเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เหตุเกิดที่ธนาคารนครธน (หวั่งหลี)
เจริญ พูลวรลักษณ์ ปัจจุบันอายุ 50 ปี เป็นเสี่ยใหญ่เจ้าของโรงหนังเพชรรามา เพชรเอ็มไพร์ เมโทร และเคยเป็นเจ้าของโรงหนังคิงส์ที่วังบูรพา ก็เห็นจะต้องบอกว่า เขาเป็นคนฉลาดคนหนึ่ง เพราะแทนที่จะนำเงินไปเล่นแชร์เพื่อจะได้ถูกโกงเหมือนกับอีกหลายๆ คนที่กำลังโดนในขณะนี้ “เสี่ยเจริญ” กลับตัดสินใจนำเงิน 15 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ปลายปี 2525 เมื่อมรสุมเริ่มตั้งเค้า
ก่อนที่จดหมายธนาคารชาติลงวันที่ 9 ธันวาคม 2525 จะส่งมาขอแสดงความนับถือกับธนาคารนครหลวงไทยนั้น ทางด้านมงคล กาญจนพาสน์ ก็ตัดสินใจถอนตัวออกจากธนาคารนครหลวงอย่างแน่นอน และก็ไม่มีใครอื่นนอกจากดิเรก มหาดำรงค์กุล ที่มงคล กาญจนพาสน์ จะเสนอขายหุ้นให้ก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
แบบนี้มันเล่นไม่ยาก !
ว่ากันว่าเจตนาของการเบี้ยวธนาคารโดยผู้บริหารสมรู้ร่วมคิดกันนั้นมันทำไม่ยาก ยกตัวอย่างกรณี นาย ประชุม แซ่เตียว หรือ วรรณโกมลวัฒน์ กับธนาคารเอเซียทรัสต์สมัยที่จอห์นนี่เขาบริหารอยู่ประชุม แซ่เตียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
การธนาคารโลกกำลังพังทลาย
กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ตลาดการเงินของฝ่ายตะวันตกโดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกาและเยอรมนี
ประสบกับความวุ่นวายมากยิ่งขึ้นอันเป็นผลจากความตึงเครียดทางการเงินและการคลังระหว่างปี
1980-1981
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2527)
สุไลมาน โอเลยัน นักการเงินที่รวยที่สุดในโลก
ในช่วงที่นักธุรชั้นนำของโลกจำนวน 535 คน จะถูกเชิญให้เดินทางมาซานฟรานซิสโก
ปลายปีหน้า เพื่อเข้าร่วมในการประชุมอุตสาหกรรมนานาชาติอันมีอิทธิพลนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2527)